Page 23 - Suradeth
P. 23

16



               2. การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์
                      เนื่องจำกในปัจจุบันทุก ๆ ปีจะมีภำษำคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นมำกมำย และภำษำต่ำง ๆ จะมีจุดดีและจุดด้อยแตกต่ำงกัน

               ไป ผู้ใช้จึงจ ำเป็นต้องท ำกำรคัดเลือกภำษำที่จะน ำมำใช้งำนอย่ำงระมัดระวัง เนื่องจำกเมื่อศึกษำและพัฒนำซอฟต์แวร์ด้วย
               ภำษำใดภำษำหนึ่งแล้ว กำรเปลี่ยนไปใช้ภำษำอื่นในภำยหลังจะเป็นเรื่องที่ยำกล ำบำกอย่ำงยิ่ง ทั้งในเรื่องของค่ำใช้จ่ำยและ

               เวลำที่ต้องสูญเสียไป รวมทั้งปัญหำของบุคลำกรที่ต้องศึกษำหำควำมช ำนำญใหม่อีกด้วย
               ในกำรเลือกภำษำคอมพิวเตอร์ที่จะน ำมำใช้ สิ่งที่ควรพิจำรณำคือ

                      1. ในหน่วยงำนหนึ่ง ๆ ควรจะใช้ภำษำคอมพิวเตอร์ภำษำเดียวกัน เพรำะกำรดูแลรักษำซอฟต์แวร์ที่พัฒนำขึ้น
               ตลอดจนกำรจัดหำบุคลำกรจะกระท ำให้ง่ำยกว่ำ

                      2. ในกำรเลือกภำษำควรเลือกโดยดูจำกคุณสมบัติหรือข้อดีของภำษำนั้นๆเป็นหลัก
                      3. ถ้ำโปรแกรมที่เขียนขึ้นนั้นต้องน ำไปท ำงำนบนเครื่องต่ำง ๆ กัน ควรเลือกภำษำที่สำมำรถใช้งำนได้บนทุกเครื่อง

               เพรำะจะท ำให้เขียนโปรแกรมเพียงครั้งเดียวเท่ำนั้น
                      4. ผู้ใช้ควรจ ำกัดภำษำคอมพิวเตอร์ที่จะใช้ ไม่ควรติดตั้งตัวแปลภำษำคอมพิวเตอร์ทุกภำษำบนเครื่องทุกเครื่อง

                      5. ภำษำคอมพิวเตอร์ที่เลือกใช้ จะถูกจ ำกัดโดยนักเขียนโปรแกรมที่มีอยู่ เพรำะควรใช้ภำษำที่มีผู้รู้อยู่บ้ำง
                      6. บำงครั้งในงำนที่ไม่ยุ่งยำกนัก อำจใช้ภำษำคอมพิวเตอร์พื้นฐำน เช่น ภำษำ BASIC เพรำะเขียนโปรแกรมได้ง่ำย

               และรวดเร็ว รวมทั้งมีติดตั้งอยู่บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนมำกอยู่แล้ว
                      1.5.1 ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์

               ปัจจุบันนี้มีภำษำคอมพิวเตอร์ให้เลือกใช้มำกมำยหลำยภำษำ แต่ละภำษำก็ถูกออกแบบมำให้ใช้กับงำนด้ำนต่ำง ๆ กัน
               ตัวอย่ำงเช่น บำงภำษำก็ออกแบบมำให้ใช้แก้


                      ภาษา BASIC



                                                                  ภ ำ ษ ำ เ บ สิ ค   ( BASIC:  Beginner's  All  Purpose

                                                                  Symbolic Instruction Code) พัฒนำโดย จอห์น เคม
                                                                  เมนี (John Kemeny) และ ธอมัส เดิรตส์ (Thomas

                                                                  Kurtz) วิยำลัยดำร์ทเมิร์ท (Dartmouth College) ในปี
                                                                  ค.ศ. 1963




                      จุดประสงค์ เพื่อใช้สอนวิชำ กำรเขียนโปรแกรม และได้รับควำมนิยมอย่ำงสูง บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์โดยมีกำร

               น ำมำท ำเป็น ชุดค ำสั่งถำวร (Firmware) เก็บไว้ใน ROM บนไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นแรกๆ ปัจจุบันมีกำรพัฒนำรูปแบบ และตัว
               แปรภำษำออกมำหลำยรุ่น เช่น Quick BASIC, Turbo BASIC นอกจำกนี้มักเป็นภำษำแรกที่ใช้ในกำรเรียนกำรสอนวิชำ

               คอมพิวเตอร์
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28