Page 24 - Suradeth
P. 24

17



                      ภำษำ BASIC รุ่นแรกใช้ interpreter เป็นตัวแปลภำษำ ท ำให้เขียนโปรแกรม ทดสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้อย่ำง
               ง่ำยดำย แต่ก็ท ำงำนได้ช้ำ ท ำให้ผู้ที่เขียนโปรแกรมเชี่ยวชำญแล้วไม่นิยมใช้งำน แต่ปัจจุบันนี้มีภำษำ BASIC รุ่นใหม่ออกมำซึ่ง

               ใช้ compiler เป็นตัวแปลภำษำ ท ำให้ท ำงำนได้คล่องตัวขึ้น เช่น Microsoft's Quick BASIC และ Visual Basic เป็นต้น
                      ภาษา COBOL

               ภำษำโคบอล (COBOL : Common Business Oriented Language) เป็นภำษำส ำหรับใช้ในงำนธุรกิจภำษำแรกของโลก
               พัฒนำในปี 1962 โดยคณะกรรมกำรโคดำซิล (The Conference on Data Systems Languages - CODASYL) มีจุดเด่นคือ

               สำมำรถใช้งำนแฟ้มข้อมูลได้หลำยแบบ ก ำหนดโครงสร้ำงข้อมูลได้สะดวก มีลักษณะกำรเขียนโปรแกรม แบบเอกสำรอธิบำย
               โปรแกรม ช่วยให้ข้อมูลกับนักพัฒนำรุ่นถัดไปได้ง่ำย และสะดวก นิยมใช้ส ำหรับกำรแก้ปัญหำทำงด้ำนธุรกิจ เช่น กำรจัดเก็บ

               เรียกใช้ และประมวลผลทำงด้ำนบัญชี ตลอดจนท ำงำนด้ำนกำรควบคุมสินค้ำคงคลัง กำรรับและจ่ำยเงิน เป็นต้น
                      ค ำสั่งของภำษำ COBOL จะคล้ำยกับภำษำอังกฤษท ำให้สำมำรถอ่ำนและเขียนโปรแกรมได้ไม่ยำกนัก ในยุคแรก ๆ

               ภำษำ COBOL จะได้รับควำมนิยมบนเครื่องระดับเมนเฟรม แต่ปัจจุบันนี้จะมีตัวแปลภำษำ COBOL ที่ใช้บนเครื่อง
               ไมโครคอมพิวเตอร์ด้วย รวมทั้งมีภำษำ COBOL ที่ได้รับกำรออกแบบตำมแนวทำงเชิงวัตถุ (Object Oriented) เรียกว่ำ

               Visual COBOLซึ่งช่วยให้โปรแกรมสำมำรถท ำได้ง่ำยขึ้น และสำมำรถน ำโปรแกรมที่เขียนไว้มำใช้ในกำรพัฒนำงำนอื่น ๆ อีก



















                      ภาษา FORTRAN
                      ภำษำฟอร์แทรน (FORTRAN - FORmula TRANslation) จัดได้ว่ำเป็นภำษำระดับสูงภำษำแรกของโลก พัฒนำในปี

               ค.ศ. 1954 โดยทีมนักคอมพิวเตอร์ บริษัท ไอบีเอ็ม (IBM) น ำทีมโดย จอห์น แบคคัส (John Backus) โดยแนะน ำออกมำสอง
               รุ่น คือ FORTRAN II และ FORTRAN IV ต่อมำได้พัฒนำภำษำ เป็นมำตรฐำนรุ่นแรก เรียกว่ำ FORTRAN-66 อย่ำงไรก็ตำม ยัง

               มีข้อบกพร่อง อีกหลำยประกำร เช่น ไม่สำมำรถก ำหนดชนิดข้อมูล ไม่สำมำรถท ำงำนกับ ข้อมูลประเภทสำยอักขระ และไม่มี
               ค ำสั่งที่สำมำรถก ำหนด โครงสร้ำงได้เหมำะสม จึงมีกำรปรับปรุงแก้ไข และออกมำเป็น FORTRAN-77 และ FORTRAN-88 ซึ่ง

               ยังมีใช้จนถึงปัจจุบัน นิยมใช้ส ำหรับงำนที่มีกำรค ำนวณมำก ๆ เช่น งำนทำงด้ำนคณิตศำสตร์ วิทยำศำสตร์ และ
               วิศวกรรมศำสตร์ เป็นต้น
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29