Page 29 - Suradeth
P. 29
22
- Visual J++ ของบริษัท Microsoft
- Visual Cafe ของบริษัท Symantec
- J Builder ของบริษัท Borland
- Visual Age for Java ของบริษัท IBM
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator)
กำรเขียนโปรแกรมด้วยภำษำระดับสูงนั้นลักษณะของโครงสร้ำงภำษำจะแตกต่ำงกันออกไป ซึ่งโปรแกรมที่มนุษย์
เขียนขึ้นนั้นเรียกว่ำ โปรแกรมต้นฉบับ (Source Code) มนุษย์จะอ่ำนโปรแกรมต้นฉบับนี้ได้ แต่คอมพิวเตอร์จะไม่เข้ำใจค ำสั่ง
เหล่ำนั้น เนื่องจำกคอมพิวเตอร์เข้ำใจแต่ภำษำเครื่อง (Machine Language) ซึ่งประกอบขึ้นจำกเลขฐำนสองเท่ำนั้น จึงต้องมี
กำรใช้โปรแกรมตัวแปลำภำษำคอมพิวเตอร์ (Translator) ในกำรแปลภำษำคอมพิวเตอร์ภำษำต่ำงๆ ไปเป็นภำษำเครื่องซึ่งจะ
ประกอบไปด้วยรหัสค ำสั่งที่คอมพิวเตอร์สำมำรถเข้ำใจและน ำไปปฏิบัติได้ ตัวแปลภำษำ ที่มีกำรใช้อยู่ในปัจจุบันจะแตกต่ำงกัน
ที่ขั้นตอนในกำรแปลภำษำให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์สำมำรถเข้ำใจได้สำมำรถแบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ
คอมไพลเลอร์ (Compiler)
เป็นตัวแปลภำษำระดับสูง เช่น ภำษำปำสคำล ภำษำโคบอล ภำษำฟอร์แทรน และภำษำซี ซึ่งเปลี่ยนโปรแกรม
ต้นฉบับให้เป็นภำษำเครื่อง กำรท ำงำนจะใช้หลักกำรแปลโปรแกรมต้นฉบับทั้งโปรแกรม และจะบันทึกไว้ในลักษณะของ
แฟ้มข้อมูลหรือไฟล์ เมื่อต้องกำรเรียกใช้งำนโปรแกรมก็สำมำรถเรียกจำกไฟล์มำใช้งำน โดยไม่ต้องท ำกำรแปลหรือคอมไพล์อีก
ท ำให้กำรท ำงำนเป็นไปอย่ำงรวดเร็ว และนิยมกันมำกในปัจจุบัน
ขณะที่คอมไพล์โปรแกรมต้นฉบับที่เขียนขึ้นด้วยภำษำระดับสูง คอมไพลเลอร์จะตรวจสอบควำมถูกต้องตำมหลักไวยกรณ์ของ
ภำษำที่ใช้เขียนโปรแกรม จำกนั้นคอมไพลเลอร์จะสร้ำงรำยกำรข้อผิดพลำดของโปรแกรม (Program Listing) เพื่อใช้เก็บ
โปรแกรมต้นฉบับและค ำสั่งที่เขียนไม่ถูกต้องตำมกฎเกณฑ์ของภำษำนั้นๆ มีประโยชน์ในกำรช่วยผู้เขียนโปรแกรม
(Programmer) ในกำรแก้ไขโปรแกรม (Ending Program)
อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter)
เป็นตัวแปลภำษำระดับสูงเช่นเดียวกับคอมไพลเลอร์ แต่จะแปลพร้อมกับท ำงำนทีละค ำสั่งตลอดไปทั้งโปรแกรม ท ำ
ให้กำรแก้ไขโปรแกรมกระท ำได้ง่ำยและรวดเร็ว ข้อเสียของอินเทอร์พรีเตอร์ คือ ถ้ำน ำโปรแกรมนี้มำใช้งำนอีกจะต้องท ำกำร
แปลโปรแกรมใหม่ทุกครั้ง ตัวอย่ำงของภำษำคอมพิวเตอร์ที่ใช้ตัวแปลภำษำแบบอินเทอร์พรีเตอร์ เช่น ภำษำเบสิก