Page 20 - โครงงานคณตศาสตร 4 PDF_Neat
P. 20

STEM

                  STEM ยอมาจาก Science, Technology, Engineering and Mathematics เปนแนวทางการเรียนการสอนที่มี
           ลักษณะของการบูรณาการการเรียนการสอนทั้งสี่สาขาเขาดวยกัน คือ วิทยาศาสตร (Science), เทคโนโลยี (Technology),

           วิศวกรรมศาสตร (Engineering) และคณิตศาสตร (Mathematics) เพื่อใหผูเรียนนําความรูทุกแขนงมาใชในการแกปญหา
           และสรางสรรคนวัตกรรมใหมในชีวิตประจําวัน โดยอาศัยการจัดการเรียนรูดวยครูหลายสาขารวมมือกัน

                  – Science เปนวิชาที่วาดวยการศึกษาปรากฏการณตางๆ ในธรรมชาติ โดยอาศัยกระบวนการสืบเสาะทาง

           วิทยาศาสตร (Scientific Inquiry)
                  -Technology เปนวิชาที่วาดวยกระบวนการทํางานที่มีการประยุกตศาสตรสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวของ มาใชในการ

           แกปญหา ปรับปรุงแกไขหรือพัฒนาสิ่งตางๆ เพื่อตอบสนองความตองการ หรือความจําเปนของมนุษย
                  -Engineering เปนวิชาที่เกี่ยวกับการสรางสรรคนวัตกรรมหรือสรางสิ่งตางๆ เพื่อมาอํานวยความสะดวกของมนุษย

           โดยอาศัยความรูดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และกระบวนการทางเทคโนโลยี มาประยุกตใชสรางสรรคชิ้นงานนั้นๆ

                  -Mathematics เปนวิชาที่วาดวยการศึกษาเกี่ยวกับการคํานวณ หรือ วิชาที่เกี่ยวกับการคํานวณ เปนพื้นฐานสําคัญ
           ในการศึกษาและตอยอดทางวิศวกรรมศาสตร


           สาเหตุที่ตองมี STEM EDUCATION หรือ สะเต็มศึกษา

                  จุดเริ่มตนของแนวคิด STEM มาจากสหรัฐอเมริกา ที่ประสบปญหาเรื่อง ผลการทดสอบ PISA ของสหรัฐอเมริกา ที่

           ต่ํากวาหลายประเทศ และสงผลตอขีดความสามารถดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และวิศวกรรม รัฐบาลจึงมีนโยบาย
           สงเสริมการศึกษาโดยพัฒนา STEM ขึ้นมา เพื่อหวังวาจะชวยยกระดับผลการทดสอบ PISA ใหสูงขึ้น และจะเปนแนวทาง

           หนึ่งในการสงเสริมทักษะที่จําเปนสําหรับผูเรียนในศตวรรษที่ 21 (21st Century skills)
                  ประเทศไทยของเราเองก็ประสบปญหาในลักษณะคลายกัน เชน นักเรียนไมเขาใจบทเรียนอยางแทจริง เรียนอยาง

           ทองจํา ใหทําขอสอบผาน เมื่อผานไปอีกภาคการศึกษาหนึ่ง เกิดปญหาลืมบทเรียนที่จบไปแลว อาจเปนเพราะนักเรียนไม

           เขาใจวา บทเรียนนั้นนําไปใชประโยชนในชีวิตจริงไดอยางไร จึงทําใหนักเรียนไมสามารถเชื่อมตอความรูเปนภาพใหญได
           ตัวอยางการเรียนการสอนในประเทศญี่ปุน : ประเทศญี่ปุน มักจะที่ประสบภัยพิบัติมาตลอด จึงนํามาประเด็นดังกลาว มาใช

           ในภาคการศึกษา ดังเชน การคํานวณพื้นที่ประสบภัยน้ําทวม การไหลของน้ํา การเคลื่อนที่ของคลื่นซึนามิ แมจะเปนความ
           เขาใจในพื้นฐานไมลึกซึ้ง เทากับการศึกษาดวยแบบจําลองดวยคอมพิวเตอร (computer modeling) ที่หนวยงานดูแลและ

           บริหารใชงานอยูจริง แตก็ทําใหนักเรียนเห็นภาพที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันมากขึ้น
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25