Page 100 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 100
86
ตารางที่ 4.13 แสดงค่าร้อยละของผลการประเมิน ADL. การจ าแนกผู้สูงอายุตามกลุ่มศักยภาพ ตาม
ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจ าวัน (Barthel Activities of Daily Living :ADL)
จ าแนกเป็นรายข้อก่อนการเข้าร่วมกิจกรรมฯ (n = 25)
ความสามารถในการด าเนินชีวิตประจ าวัน ปฏิบัติเองได้ ต้องมีคนช่วย ปฏิบัติเองไม่ได้
ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
1..Feeding (รับประทานอาหาร เมื่อเตรียม
ส ารับไว้ให้เรียบร้อยต่อหน้า) 72.0 28.0 -
2.Grooming (ล้างหน้า หวีผม แปรงฟัน
โกนหนวดในระยะเวลา24-28 ชั่วโมง
ที่ผ่านมา) 100 - -
3.Transfer (ลุกนั่งจากที่นอน หรือ
จากเตียงไปยังเก้าอี้) 100 - -
4.Toilet use (ใช้ห้องน้ า) 100 - -
5.Mobility (การเคลื่อนที่ภายใน
ห้องหรือบ้าน) 52.0 48.0 -
6.Dressing (การสวมใส่เสื้อผ้า) 100 - -
7.Stairs (การขึ้นลงบันได 1 ชั้น) 56.0 44.0 -
8.Bathing (การอาบน้ า) 100 - -
9.Bowels (การกลั้นการถ่ายอุจจาระ
ในระยะ 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา) 100 - -
10.Bladder (การกลั้นปัสสาวะ
ในระยะ 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา) 100 - -
เฉลี่ยร้อยละ 88.0 12.0 0.0
จากตารางที่ 4.13 พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมกิจกรรมการฝึกปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพ
ตนเองของผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรมก่อนเข้าร่วมกิจกรรมเมื่อพิจารณาตามความสามารถในการ
ประกอบกิจวัตรประจ าวันสามารถปฏิบัติเองได้มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 88 ต้องมีคนช่วยมีค่าเฉลี่ยร้อยละ
12.0 แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า กิจวัตรที่ปฏิบัติได้ด้วยตนเองมากที่สุดได้แก่ การล้างหน้า หวีผม
แปรงฟัน โกนหนวดในระยะเวลา การลุกนั่งจากที่นอน หรือจากเตียงไปยังเก้าอี้ ใช้ห้องน้ า การอาบน้ า
การกลั้นการถ่ายอุจจาระและการกลั้นปัสสาวะ ในระยะ 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา คิดเป็นร้อยละ 100
ตามล าดับ กิจกรรมที่ต้องมีคนช่วยแก่ การขึ้นลงบันได 1 ชั้น การเคลื่อนที่ภายในห้องหรือบ้าน คิดเป็น
ร้อยละ 56.0 และ 52.0 ตามล าดับ