Page 99 - รายงานการวิจัย การพัฒนารูปแบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธธรรม วัดสุคนธาราม อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
P. 99
85
ตารางที่ 4.12(ต่อ)
1) มากกว่า 20 ปีขึ้นไป 2 8.0 -
ชนิดบุหรี่ที่สูบ
1) บุหรี่ซอง 1 4.0
2) ยาเส้น 1 4.0
การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ไม่ดื่ม 23 92.0
ดื่ม 2 8.0 -
ชนิดเครื่องดื่ม
1) เบียร์ 2 8.0 -
โอกาสในการดื่ม
1) ดื่มเมื่อยามว่าง 1 4.0
2) ดื่มบางโอกาสตามงานบุญต่างๆ 1 4.0 -
ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มดื่ม
1) น้อยกว่า 10 ปี 1 4.0
2) มากกว่า 10 ปี 1 4.0
ตารางที่ 4.12. พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้สูงอายุ ที่สมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมการวิจัย มี
จ านวน 25 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 72.0 มีอายุ 60 – 69 ปี ร้อยละ 92. อายุเฉลี่ย 64.9ปี มี
อายุสูงสุด 70 ปี ต่ าสุด 57 ปี มีสถานภาพสมรส(คู่) ร้อยละ 64.0 มีระดับการศึกษาระดับประถมศึกษา
ร้อยละ 84.0 มีอาชีพเกษตรกรรมร้อยละ 48.0 มีรายได้ 4,001 บาท/คน/เดือน ขึ้นไป ร้อยละ 40.0
รายได้ต่อปีสูงสุด 700,000 บาท ต่ าสุด 7,200 บาท แหล่งที่มาของรายได้ส่วนใหญ่ได้จากตนเองร้อยละ
14.0 จ านวนผู้อาศัยอยู่ในครอบครัวเดียวกัน 1-3 คน ร้อยละ12.0 ส่วนใหญ่ผู้สูงอายุมีโรคประจ าตัว
ร้อยละ 76.0 โดยส่วนใหญ่เป็น โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 37.0 ส่วนใหญ่มีการออก ก าลังกาย ร้อย
ละ 80.0โดยวิธีการออกก าลังกายส่วนใหญ่ คือ เดินเร็วๆ ร้อยละ 72.0 ระยะเวลาที่ใช้ในการออกก าลัง
กายส่วนใหญ่ใช้เวลา 20-30 นาที ร้อยละ 52.0 ผู้สูงอายุสูบบุหรี่ ร้อยละ 8.0 โดยเป็นการสูบได้ในที่
ท างาน ร้อยละ 8.0 มากว่า 20 ปีโดยส่วนใหญ่ระยะเวลา ตั้งแต่เริ่มสูบบุหรี่มากกว่า 20 ปี ร้อยละ 8.0
ชนิดของบุหรี่ที่สูบส่วนใหญ่สูบยาเส้น/บุหรี่ซอง ร้อยละ 4.0 เท่ากัน ผู้สูงอายุมีการดื่มสุรา ร้อยละ 8.0
โดยส่วนใหญ่ดื่มบางโอกาสตามงานบุญต่างๆ และเมื่อยามว่าง ร้อยละ 4.0 เท่ากัน ชนิดเครื่องดื่ม ที่
ผู้สูงอายุดื่มส่วนใหญ่คือเบียร์ ร้อยละ 8.0 ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มดื่มน้อยกว่า 10 ปี ร้อยละ 4.0 มากกว่า
10 ปี ร้อยละ 4.0