Page 142 - สมโภชพระอารามหลวง ครบ 100 ปี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร สุพรรณบุรี.
P. 142

สมโภชพระอารามหลวง ครบ ๑๐๐ ปี วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร  •  59


                    ๔. เรื่องต้นเหตุสร้างพระป่าเรไลย (พญ�กงพญ�พ�น)

               ปร�กฏอยู่ในหนังสือสย�มประเภทเล่ม ๒ ตอนที่ ๑๕ วันเส�ร์ที่
               ๑ กรกฎ�คม ร.ศ. ๑๑๘ (พ.ศ. ๒๔๔๒) ของ ก.ศ.ร.กุหล�บ มี

               ข้อคว�มดังนี้ “...ภายหลังพญาภาณุราชย้ายไปตั้งพระมหานคร

               อยู่ณะฝั่งฟากประทาคูจาม สร้างเมืองหลวงขึ้นที่ต�าบลนั้น
               เสร็จแล้ว พระราชทานนามเมืองหลวงว่า “กรุงพันธุมะบุรี”

               (คือเมืองสุพรรณบุรีเดี๋ยวนี้) เสด็จครองราชสมบัติที่กรุงพันธุมะ

               บุรีๆ เปนเอกราชฝ่ายทิศตวันตกแห่งหนึ่ง พญาภาณุราชทรง
               สร้างพระพุทธรูปพระป่าเรไลยก์เมื่อจุฬศักราช ๖๖๐ ปี สร้าง

               พระป่าเรไลยก์แล้วได้ ๙ ปี พญาภาณุราชก็เสด็จสวรรค์คตเมื่อ

               จุฬศักราช ๖๖๙ ปี พญาภาณุราชเปนพระจ้าวแผ่นดินได้ ๔๙ ปี
               ก็เสด็จสวรรค์คต”


                    เอกส�รชิ้นนี้เป็นเพียงชิ้นเดียวที่มีก�รระบุศักร�ชก�ร
               สร้�งเมืองพันธุมบุรี และก�รสร้�งพระป่�เลไลยก์ รวมถึงระบุชื่อ

               ผู้สร้�งไว้ด้วย และระบุว่�พันธุมบุรี คือ เมืองสุพรรณบุรี ผู้เขียน

               ได้ตรวจสอบและเปรียบเทียบพบว่�พระบริห�รเทพธ�นี ได้นำ�
               ชื่อ “พันธุมบุรี” จ�กเรื่องนี้ม�เขียนลงในหนังสือ “พงศ�วด�ร

               ช�ติไทย” ซึ่งต่อม�ถูกนำ�ม�ผูกเข้�กับเรื่องของมอญน้อยใน

               พงศ�วด�รเหนือ และในที่สุดก็กล�ยเป็นฐ�นในก�รเขียนประวัติ-
               ศ�สตร์วัดป่�เลไลยก์และเมืองสุพรรณในเวล�ต่อม�จนถึงปัจจุบัน

               จุดอ่อนของเอกส�รชิ้นนี้ คือ ก.ศ.ร. กุหล�บไม่ได้บอกว่�ได้ม�

               จ�กที่ใด และอ�จเป็นไปได้ว่� ก.ศ.ร. กุหล�บได้แทรกคว�มเชื่อ
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147