Page 63 - ปทุมวัน
P. 63
55
กล่าวโดยสรุป วิธีการศึกษาตามประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย (1) ก าหนด
วัตถุประสงค์ในการศึกษา (2) การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการออกปฏิบัติภาคสนาม และสัมภาษณ์ (3)
น าข้อมูลมาวิเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ (4) สรุปน าเสนอข้อมูล และเขียนรายงาน
ส าหรับการประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีการศึกษาทางภูมิศาสตร์ในการศึกษาวิธีการศึกษาทาง
ภูมิศาสตร์ และประวัติศาสตร์ที่ใช้ในการศึกษาท้าวมหาพรหมบรมเทพเขตปทุมวัน ให้ครูผู้สอน
แนะน าผู้เรียนในขั้นตอนการก าหนดประเด็นศึกษา แล้วให้ไปศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล โดยผู้เรียนต้อง
ประยุกต์ใช้ ด้วยการก าหนดวัตถุประสงค์ในการศึกษา ประเด็นศึกษาที่ก าหนด ต่อจากนั้นให้ไป ณ
แหล่งเรียนรู้ในชุมชน หรือแหล่งเรียนรู้ที่ต้องศึกษา สัมภาษณ์ เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้รู้ ภูมิปัญญา
หรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
และบันทึกลงในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) เพื่อน าไปพบกลุ่มตามที่นัดหมายไว้กับครูผู้สอน
เรื่องที่ 2 วิธีการศึกษาทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับท้าวมหาพรหมบรมเทพเขตปทุมวัน
กกกกกกก1. การก าหนดประเด็นในการศึกษา
การก าหนดประเด็นในการศึกษา เป็นจุดเริ่มต้นของการศึกษาค้นคว้าเรื่องราวในอดีต
ซึ่งจะเป็นแนวทางที่น าไปสู่ การสืบค้นข้อมูลจากหลักฐานประเภทต่าง ๆ ประเด็นศึกษาอาจมาจาก
ความต้องการอยากรู้ อยากเห็นเรื่องราวที่เกี่ยวของกับตนเอง และครอบครัวหรือเกิดจากปัญหาที่พบ
เห็นในชุมชนหรือท้องถิ่นของตนเอง รวมทั้งอาจมาจากความสงสัยในข้อมูลที่ได้รับว่าเป็นจริงเช่นนั้น
หรือไม่ ความอยากรู้ อยากเห็น ปัญหา และความสงสัย จะท าให้เกิดประเด็นค าถาม ใคร ท าอะไร ที่
ไหน เมื่อไร ท าไม และอย่างไร ซึ่งจะน าไปสู่ วิธีการสืบค้น และแหล่งข้อมูลหลักฐาน
กกกกกกก2. สืบค้น และรวบรวมข้อมูล
สืบค้น และรวบรวมข้อมูล เป็นการสืบค้นข้อมูลจากหลักฐานต่าง ๆ เพื่อให้เข้าถึง
ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับประเด็นศึกษาที่เราต้องการสืบค้น วิธีการสืบค้นข้อมูลท าได้หลายวิธี เช่น
การสอบถาม การสัมภาษณ์ การศึกษาวิเคราะห์เอกสารหรือหนังสือ การไปชมสถานที่จริง การฟังค า
บรรยายจากผู้ทรงคุณวุฒิ การวิเคราะห์จากรูปภาพ แผนที่ กราฟ สถิติ แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ
ประเด็นศึกษา ได้แก่
2.1 บุคคลที่เป็นผู้รู้เรื่องราวนั้น ๆ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะเป็นผู้ มีความเกี่ยวข้องโดยตรง
เช่น เป็นญาติพี่น้อง เป็นผู้มีส่วนร่วมรู้เห็นกับเหตุการณ์ หรือเป็นผู้ศึกษาค้นคว้าเรื่องราว
นั้น ๆ เช่น นักโบราณคดี นักจดหมายเหตุ นักภาษาศาสตร์
2.2 สถานที่ส าคัญ และแหล่งข้อมูลในท้องถิ่น เช่น วัด มัสยิด โบสถ์คริสต์
2.3 ห้องสมุด และแหล่งรวบรวมเอกสารทางประวัติศาสตร์ เช่น ห้องสมุดประชาชน
หอสมุดแห่งชาติ หอจดหมายเหตุแห่งชาติ