Page 64 - Pathum Wan1
P. 64
63
กกกกกกกข้อที่ 5 พระพรหมเอราวัณ ไม่ใช่โรงมหรสพ
กกกกกกกข้อที่ 6 พระพรหมเอราวัณ ไม่ใช่สถานที่แสวงบุญ
กกกกกกกพระพรหมเอราวัณเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ต้องการความสงบ ความสะอาด ความเรียบร้อย ผู้
ไปสักการะควรแสดงความเคารพต่อสถานที่ ดังนี้
กกกกกกกข้อที่ 1 ห้ามสูบบุหรี่ ตลอดจนไม่น้าสิ่งเสพติดให้โทษเข้ามา
กกกกกกกข้อที่ 2 ห้ามน้าสินค้า หรือสิ่งของใด ๆ เข้ามาจ้าหน่าย
กกกกกกกข้อที่ 3 ห้ามเปิดวิทยุ หรือเครื่องกระจายเสียง ไม่ส่งเสียงดังเอะอะอื้ออึง
กกกกกกกข้อที่ 4 ห้ามน้าสัตว์เลี้ยงเข้ามาบริเวณพระพรหมเอราวัณ
กกกกกกกข้อที่ 5 ห้ามโฆษณาชวนเชื่อหาเสียงในพื้นที่บริเวณพระพรหมเอราวัณ
กกกกกกกข้อที่ 6 ห้ามร้องร้าท้าเพลง หรือการแสดงการละเล่นทุกชนิด ยกเว้นที่พระพรหมเอราวัณ
อนุญาต
กกกกกกกข้อที่ 7 ห้ามท้านายทายทักโชคชะตา หรือคุยกันด้วยเรื่องการเมือง
กกกกกกกข้อที่ 8 ห้ามเรี่ยไรเงิน และแจกใบฎีกาทุกชนิด
กกกกกกกข้อที่ 9 การถ่ายรูป ไม่ควรโพสท่าไม่สุภาพ หรือแสดงกิริยาไม่เหมาะสม ไม่เคารพต่อ
สถานที่
กกกกกกกข้อที่ 10 ห้ามหยิบหรือขโมยชิ้นส่วนของพระพรหมเอราวัณ
กกกกกกกข้อที่ 11 ห้ามปีนป่ายหรือเหยียบย่้าขึ้นไปบนพระพรหมเอราวัณ
กกกกกกกข้อที่ 12 ไม่ขีดเขียน สัมผัส ลูบค้า แตะต้อง เคลื่อนย้าย สิ่งต่าง ๆ บริเวณพระพรหม
เอราวัณ
กกกกกกกข้อที่ 13 ไม่ขีดเขียน สัมผัส ลูบค้า แตะต้อง พระพรหมเอราวัณ
กกกกกกกข้อที่ 14 ไม่กล่าวค้าท้านองว่าไม่เชื่อไม่ศรัทธาต่อพระพรหมเอราวัณ
กกกกกกกกล่าวโดยสรุป การสืบสานวิธีการกราบไหว้สักการะ และวิธีการแก้บน ท้าวมหาพรหม
บรมเทพเขตปทุมวัน รวมธูปที่ต้องใช้ 110 ดอก เทียน 36 เล่ม ดอกบัว 36 ดอก น้้าเปล่า 4 ขวด
นอกจากดอกไม้ธูปเทียนแล้ว ของสักการะหรือเครื่องสังเวยต่าง ๆ ยังสามารถถวายเป็นขนมหวาน
รสอ่อน ไม่ปรุงรสมากเกิน ไม่เค็มจัด ไม่ผสมสี เน้นธรรมชาติให้มากที่สุด ผลไม้ถวายได้ทุกชนิด เช่น
มะพร้าว สาลี ชมพู่ กล้วย ธัญพืช เช่น ข้าวกล้อง ข้าวสาร ข้าวสวย เมล็ดถั่วต่าง ๆ งาขาว งาด้า
ลูกเดือย เผือก มัน สมุนไพร เมล็ดพริกไทย ผักชี ใบกระเพรา พืชผักสดต่าง ๆ สามารถถวายได้ทั้งสด
และต้มสุก เครื่องสังเวยที่ห้ามถวายคือเนื้อสัตว์ต่าง ๆ การไหว้พระพรหม ไม่ควรไปสักการะพระ
พรหมเอราวัณในวันพระ เนื่องจากพระพรหมจะไปปฏิบัติธรรม จึงไม่ได้เสด็จลงมาที่ศาล ท่านจะไม่ได้
ยินค้าอธิฐานจากผู้มาสักการะ
กกกกกกกการแต่งกายไปเคารพสักการะพระพรหมเอราวัณ ควรแต่งกายสุภาพตามลักษณะสากล
นิยม เสื้อผ้าสะอาด กางเกงขายาว เสื้อควรเป็นสีขาว ไม่บางเกินไป กระโปรงต้องไม่สั้น ไม่ผ่าสูงเกิน
หรือรัดแน่น ผู้ชายไม่ควรใส่เสื้อกล้าม เสื้อผ้าซักรีดให้เรียบร้อย รองเท้าขัดพอเงางาม ไม่สวมรองเท้า
แตะ แต่งหน้าพองาม เครื่องประดับไม่ควรใส่ชิ้นใหญ่ การแต่งกายดีไม่ใช่การแต่งกายด้วยเสื้อผ้าราคา
แพง แต่เป็นการแต่งการแต่งกายที่ถูกกาลเทศะ เคารพสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของศาสนสถานที่ตนเองไป
เคารพสักการะ และไม่ส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่น