Page 21 - เนื้อเรื่อง.pmd
P. 21

เขาใจแลวจึงคอยเขาสูคำถามที่เปนประเด็นหลัก ของการศึกษา แลวจบดวยคำถามประเด็นยอยๆ
                  ขณะเดียวกันมีผูบันทึกเก็บขอมูล จากคำสนทนาพรอมบรรยากาศ และอากัปกิริยาของสมาชิก

                  กลุมแลวสรุปเปน ขอสรุปของการ สนทนาแตละครั้ง

                          6.    การสำรวจ การสำรวจขอมูลชุมชนทำไดในลักษณะตางๆ เชน 1) ขอมูลที่

                  ครอบครัวควรทำเอง ไดแก บัญชีรายรับ-รายจายของครอบครัว แตละครอบครัว รวมทั้งหนี้สิน
                  2) ขอมูลทั่วไปของครอบครัว ไดแก จำนวนสมาชิก อายุ การศึกษา รายได ที่ทำกิน เครื่องมือ

                  อุปกรณ ความรูของคนในครอบครัว และ การดูแล สุขภาพ เปนตน    3) ขอมูลสวนรวมของ

                  ชุมชน ไดแก ประวัติความเปนมาของชุมชน ทรัพยากร ความรู ภูมิปญญาเฉพาะดาน การ
                  รวมกลุม โครงการ ของชุมชน ผูนำ เปนตน

                          สำหรับวิธีการเก็บขอมูลดวยเทคนิคการสำรวจอาจใชแบบสอบถาม หรือแบบ

                  สัมภาษณตามความสะดวก ความประหยัดของผูเก็บขอมูล และไมสรางความ ยุงยากใหกับผูให
                  ขอมูล

                          7.    การจัดเวทีประชาคม เปนการพบปะของผูคนที่เปนผูแทนระดับของกลุมตางๆ

                  ในชุมชนซึ่งผูคนเหลานี้มีขอมูล ประสบการณ ความคิดที่หลากหลาย ไดมารวมกันแลกเปลี่ยน
                  ขอมูล ประสบการณ ความคิด เพื่อรวมกันกำหนดวิสัยทัศน วิเคราะห สถานการณ ปญหา

                  วางแผน ดำเนินงาน ติดตามประเมินผลการทำงาน รวมกัน เพื่อนำไปสูการพัฒนาชุมชนให

                  สามารถบรรลุเปาหมายรวมกัน สวน เครื่องมือที่สำคัญในการจัดเวทีประชาคม คือ ประเด็น
                  คำถามที่มีลักษณะเปน คำถามปลายเปด เพื่อทำใหผูรวมเวทีสามารถตอบและอภิปรายได

                  ละเอียดตาม ความรูความคิดและประสบการณของแตละคน ทำใหไดคำตอบที่เปนขอมูล เชิงลึก

                  ซึ่งแตเปนประโยชนตอการวิเคราะหขอมูลในแตละดานตอไป




                  เรื่องที่ 4การวิเคราะหขอมูล




                          หลังจากการเก็บขอมูลเสร็จสิ้นแลว ผูเก็บขอมูลควรนำผลจากการจัดเก็บขอมูล

                  ไปตรวจสอบความถูกตองและสมบูรณกับแหลงขอมูลอีกครั้งเพื่อยืนยันความถูกตอง และ

                  เพิ่มเติมขอมูลในสวนที่ยังไมสมบูรณใหสมบูรณมากที่สุด ขั้นตอนถัดมาคือการวิเคราะหขอมูล
                          การวิเคราะหขอมูล เปนการนำขอมูลที่เก็บรวบรวมมาได มาจัดกระทำโดยจำแนก

                  จัดกลุม จัดระบบ หมวดหมู เรียงลำดับ คำนวณคาตัวเลข (เชิงปริมาณ) ตีความ สรุป

                  และนำเสนอในรูปแบบตางๆ ใหสามารถสื่อความหมายได เชน ตาราง แผนภูมิ ภาพ ฯลฯ

                          ขั้นตอนของการวิเคราะหขอมูลชุมชนอาจตองอาศัยผูรูเกี่ยวกับการวิเคราะหขอมูลเขามา
                  ใหความรวมมือชวยเหลือในการวิเคราะหและเผยแพรขอมูล แตขณะเดียวกัน ประชาชนใน

                  ชุมชนตองมีสวนรวมเขามาแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อใหเกิดการเรียนรูรวมกัน




                  หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม  รายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม (สค 21003) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน  13
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26