Page 83 - คู่มือหลักสูตรมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต์ สาขาเครือข่ายและความปลอดภัย (Network & Security)
P. 83

การพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์

                            มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
                                                                สาขาเครือข่ายและความปลอดภัย (Network & Security)



                    การบริหารด้านความปลอดภัย (Security Management)

                           การบริหารจัดการด้านความปลอดภัย (Security Management) มีจุดประสงค์หลัก คือ การควบคุม
                    การเข้าใช้ทรัพยากรเครือข่ายให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้ก าหนดไว้ ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับ Firewall, Encrypt,

                    Certificate Authority เป็นต้น


                    เครื่องมือส าหรับผู้บริหารเครือข่าย

                           -  ค าสั่งเบื้องต้นในการจัดการเครือข่าย
                           -  Ping: เพื่อทดสอบการเชื่อมต่อของโฮสต์กับเครือข่าย Ex: ping 203.154.220.155

                           -  Traceroute: ใช้ในการทดสอบการเชื่อมต่อ คล้ายกับ Ping Ex: tracertwww.hotmail.com

                           -  netstat: ใช้ในการทดสอบประสิทธิภาพในการสื่อสารข้อมูล  Ex: netstat-parameter
                           -  ตัวอย่างโปรแกรมส าหรับดูแลระบบเครือข่าย

                           -  Protocol Analyzer

                           -  NetView
                           -  ZoneAlarm

                           -  NetworkSniffer
                           -  AssetTrackerforNetworks: มีหน้าที่ตรวจสอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบเครือข่าย

                               (Network)


                    40204 บริการจัดการวัสดุอุปกรณ์เครือข่ายส ารอง (Spare Parts Management)

                    ในด้านการจัดการอะไหล่นี้จะมีค าถามอยู่ 10 ข้อ ดังนี้ คือ (thailandindustry.com, 2559,.[ออนไลน์])
                           1.  ท่านมีวิธีการที่ชัดเจนในการสั่ง การเลือกผู้จ าหน่าย การส่งของ การตรวจรับ การจัดเก็บ และ

                    การเบิกจ่าย อะไหล่และวัสดุซ่อมบ ารุงที่ใช้ในหน่วยงานของท่านหรือไม่

                           2.  พนักงานที่เกี่ยวข้องกับอะไหล่และวัสดุซ่อมบ ารุง ได้แก่ พนักงานบ ารุงรักษา พนักงานคลังพัสดุ
                    และพนักงานจัดซื้อ ในหน่วยงานของท่านได้ด าเนินการตามวิธีที่ท่านได้ก าหนดไว้ในข้อที่ 1 อย่างเคร่งครัด

                    หรือไม่

                           3.  การสั่งอะไหล่มาส ารองเพิ่มเติมจากที่ถูกเบิกจ่ายใช้ไปในหน่วยงานของท่าน ได้ด าเนินการตาม
                    สูตรหรือหลักเกณฑ์ที่ได้ก าหนดขึ้นตามหลักวิชาการหรือไม่

                           4.  ท่านรู้ค่าใช้จ่ายทั้งหมดในการสั่งอะไหล่และวัสดุซ่อมบ ารุงในหน่วยงานของท่านหรือไม่

                           5.  ท่านรู้ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาอะไหล่และวัสดุซ่อมบ ารุงไว้ในคลังพัสดุของหน่วยงานของท่าน
                    หรือไม่







                    รายงานการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์               หน้า 81
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88