Page 85 - คู่มือหลักสูตรมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต์ สาขาเครือข่ายและความปลอดภัย (Network & Security)
P. 85

การพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์

                            มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
                                                                สาขาเครือข่ายและความปลอดภัย (Network & Security)



                               2.  การก าหนดความต้องการเป็นการก าหนดความต้องการทั้งอะไหล่และวัสดุซ่อมบ ารุงที่

                    จะต้องใช้ เพื่อให้สมรรถนะความพร้อมใช้งานเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ และความต้องการทรัพยากรในการ
                    จัดการ ได้แก่ บุคลากร สถานที่และอุปกรณ์ในการจัดเก็บ และเงินทุนด้วย

                               3.  การจัดหาเป็นการให้ได้อะไหล่และวัสดุซ่อมบ ารุงมาตามความต้องการทั้งปริมาณ คุณภาพ
                    ระยะเวลา และราคาที่เหมาะสม ซึ่งการจัดหานี้สามารถท าได้หลายวิธี เช่น การซื้อ การจ้างท า และการผลิต

                    ขึ้นมาเอง เป็นต้น โดยการจัดหานี้จะรวมการตรวจรับอะไหล่และวัสดุซ่อมบ ารุงที่จัดหามาด้วย

                               4.  การแจกจ่ายเป็นการควบคุมการเบิกจ่ายอะไหล่และวัสดุซ่อมบ ารุง ซึ่งจะรวมถึงการบริหาร
                    คลังพัสดุ โดยมีการจัดเก็บอะไหล่และวัสดุซ่อมในคลังพัสดุให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ได้แก่ การใช้พื้นที่ที่มีอยู่ให้

                    ประโยชน์สูงสุด การจัดวางอะไหล่และวัสดุซ่อมบ ารุงในต าแหน่งที่เหมาะสม รวมทั้งมีระเบียบและข้อปฏิบัติ

                    เกี่ยวกับการเก็บรักษาที่ปลอดภัยด้วย
                               5.  การบ ารุงรักษา เป็นการบ ารุงรักษาอะไหล่และวัสดุซ่อมบ ารุงที่เก็บไว้ในคลังพัสดุให้อยู่ใน

                    สภาพพร้อมจะจ่ายได้ทันที ซึ่งประกอบกิจกรรมที่ส าคัญคือ การตรวจสอบสภาพของอะไหล่และวัสดุซ่อม

                    บ ารุงอย่างสม่ าเสมอ และการป้องกันไม่ให้อะไหล่และวัสดุซ่อมบ ารุงเสื่อมสภาพเร็วกว่าที่ควรจะเป็น
                               6.  การจ าหน่าย เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการจัดการอะไหล่ โดยเป็นการจ าหน่ายอะไหล่และ

                    วัสดุซ่อมบ ารุงที่เสื่อมสภาพหรือไม่มีความจ าเป็นในการใช้งานอีกต่อไป เพื่อลดภาระในการจัดเก็บและดูแล
                    รักษาและเพื่อให้มีสถานที่ในการจัดเก็บเพิ่มเติม โดยให้มีการน าเอาข้อมูลของการจ าหน่ายนี้ไปพิจารณาใน

                    ขั้นตอนของการวางแผนต่อไป


                    ลักษณะของการจัดการอะไหล่ (thailandindustry.com, 2559,.[ออนไลน์])

                           การจัดการอะไหล่ตามขั้นตอนต่าง ๆ ตามที่ได้อธิบายไว้แล้วข้างต้นนั้นจ าเป็นที่จะต้องมีการตัดสินใจ
                    ในปัจจัยที่ส าคัญ ๆ ได้แก่ ระดับของการบริการ (service level) การขาดแคลนอะไหล่และวัสดุซ่อมบ ารุงที่

                    ยอมรับได้ (acceptable stockouts) ปริมาณอะไหล่และวัสดุซ่อมบ ารุงที่ส ารองเผื่อไว้ (safety stock)

                    ปริมาณที่จะสั่งในแต่ละครั้ง และเวลาที่จะสั่ง ซึ่งปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ส่วนใหญ่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
                    ตัวอย่างเช่น ถ้าปริมาณอะไหล่และวัสดุซ่อมบ ารุงที่ส ารองเผื่อไว้มีจ านวนมาก โอกาสของการขาดแคลน

                    อะไหล่และวัสดุซ่อมบ ารุงนั้น ๆ ก็จะมีน้อย แต่ค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บก็จะสูง แต่ถ้าปริมาณอะไหล่และวัสดุ

                    ซ่อมบ ารุงที่ส ารองเผื่อไว้มีน้อยโอกาสของการขาดแคลนอะไหล่และวัสดุซ่อมบ ารุงนั้น ๆ ก็จะมีมาก แต่
                    ค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บจะลดลง ดังนั้นลักษณะของการจัดการอะไหล่มักเป็นการชั่งน้ าหนักหรือการหาจุดหรือ

                    ปริมาณที่มีค่าใช้จ่ายหรือเงินทุนรวมที่ต่ าที่สุดของทางเลือกสองทางซึ่งแปรผันไปกับปริมาณ หรือเพื่อเลือกเอา

                    แนวทางหรือวิธีการหรือปริมาณที่มีค่าใช้จ่ายหรือเงินทุนที่ประหยัดกว่า ตัวอย่างเช่น ปริมาณที่จะสั่งก็จะเป็น
                    การชั่งน้ าหนักระหว่างค่าใช้จ่ายในการสั่งอะไหล่ (cost of ordering) กับค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บอะไหล่ไว้ใน

                    คลังพัสดุ (cost of holding) โดยค่าใช้จ่ายในการสั่งอะไหล่ประกอบด้วย




                    รายงานการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์               หน้า 83
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90