Page 72 - คู่มือหลักสูตรมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต์สาขาฮาร์ดแวร์ (Hardware)
P. 72

การพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์

                                           มาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต์
                                                                                     สาขาฮาร์ดแวร์ (Hardware)



                           แรม (RAM)
























                    ที่มา: techblog.in.th, MARCH 24, 2015, [ออนไลน์].


                           แม้ว่าตอนนี้แรมแบบ DDR4 จะเริ่มเข้ามามีบทบาทบ้างแล้วในวงการคอมพิวเตอร์ระดับบน ๆ แต่

                    ปัจจุบันราคายังถือว่าแพงมากและหาคนที่จะซื้อมาใช้งานนั้นน้อยอยู่ในตอนนี้ ฉะนั้นตอนนี้แรมแบบ
                    DDR3 ยังเป็นพระเอกไปได้อีกอย่างน้อยก็สักสองหรือสามปีจนกว่า DDR4 ราคาจะถูกลงจนคนทั่วไป

                    สามารถซื้อกันได้ ส าหรับการเลือกแรมนั้นจะมีสองส่วนที่ควรพิจารณา ได้แก่บัสหรือความเร็วของแรม จะ

                    มีตั้งแต่ 1600, 1866 หรือ 2400 MHz ส าหรับ DDR3 ซึ่งบัสที่สูงขึ้นก็แลกมาด้วยราคาที่สูงตามไปด้วย
                    ซึ่งแรมที่มีค่า MHz สูง ๆ ก็เหมาะกับการใช้งานงานที่ต้องการถ่ายโอนข้อมูลจ านวนมากระหว่างแรมเช่น

                    งานตัดต่อวิดีโอ งานด้านกราฟิก แต่หากจะว่าจริง ๆ ในการใช้งานปกตินั้นไม่เห็นผลมากนัก ฉะนั้นเลือก
                    เอาตามที่ชอบและเมนบอร์ดของตัวเองรองรับก็แล้วกัน

                           อีกค่าหนึ่งที่น่าสนใจคือ CAS Latency (CL) ที่หากเราดูสเปคแรมดี ๆ จะเห็นตัวเลขเป็นชุด ๆ

                    เช่น 9-9-9-24 ชุดเลขนี้สรุปแบบก าปั้นทุบดินได้ว่า ยิ่งต่ ายิ่งดี แรมที่มีค่า MHz สูง ๆ มีแนวโน้มที่ค่า CL
                    จะสูงตามไปด้วย เนื่องจากเทคโนโลยีปัจจุบันยังยากที่จะท าค่าแรม CL ต่ าให้ได้ในความเร็วที่สูง ๆ ฉะนั้น

                    ปกติคือควรเลือกแบบต่ า ๆ เช่น 9 ขึ้นต้นไว้ก็จะดีกว่า 10 หรือ 11
                           ยี่ห้อของแรมนั้นจะว่ากันจริง ๆ ไม่ได้มีความแตกต่างกันมากนัก โดยปัจจุบันยี่ห้อที่เราพบเห็น

                    กันเยอะที่สุดคงหนีไม่พ้น Kingston ซึ่งปัจจุบันส่วนใหญ่จะเป็นซีรี่ส์ HyperX ทั้งหมดแล้ว และมีหลาย

                    ความเร็วหลายขนาดให้เลือก ยี่ห้ออื่น ๆ ก็ได้แก่ G.Skill, Team Group, ADATA, Corsair เป็นต้น ยี่ห้อ
                    เหล่านี้ถือว่าไว้ใจได้และมีความแตกต่างกันไม่มากนักหากน ามาใช้งานปกติ เว้นแต่บางซีรี่ส์ที่เน้น

                    ออกแบบมาเพื่อการโอเวอร์คล็อค (overclock)








                    รายงานการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์            หน้า 70
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77