Page 51 - New9ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ อช11001.indd
P. 51

45




                                                           บทที่ 3

                                                  การตัดสินใจเลือกอาชีพ



                    การตัดสินใจเลือกอาชีพตามศักยภาพ



                            การตัดสินใจที่จะดําเนินการสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ตองมีขอมูลประกอบการตัดสินใจ

                   ซึ่งประกอบดวย ขอมูลดานตัวเอง สภาพแวดลอมและสังคม และวิชาการ นอกจากนี้ ยังมี

                   วิธีการวิเคราะหศักยภาพตาง ๆ ที่เกี่ยวของวามีการตัดสินใจเลือกอาชีพ มีความเหมาะสม

                   หรือไม  โดยแนวทางในการตัดสินใจเขาสูอาชีพใหเหมาะสมนั้น  ควรมีความเขาใจในการ

                   วิเคราะหศักยภาพทั้ง 5 ดาน ดังนี้

                            1. ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นที่

                              ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งมนุษยสามารถ
                   นําไปใชใหเกิดประโยชนตอชีวิตประจําวัน และการประกอบอาชีพ ทรัพยากรธรรมชาติ ไดแก


                   ปาไม แมน้ํา ลําคลอง อากาศแรธาตุตาง ๆ โดยทรัพยากรธรรมชาติบางชนิดใชแลวหมดไป เชน
                   แรธาตุตาง ๆ ทรัพยากรธรรมชาติบางชนิดมนุษยสามารถสรางขึ้นมาทดแทนใหมได เชน ปาไม

                   เมื่อมนุษยตัดไปใชประโยชนแลวก็สามารถปลูกทดแทนขึ้นใหมได ดังนั้น การประกอบอาชีพ

                   ตองพิจารณาวา ทรัพยากรที่จะตองนํามาใชในการประกอบอาชีพในพื้นที่มีหรือไม มีเพียงพอ

                   หรือไม ถาไมมี ผูประกอบการตองพิจารณาใหมวา จะประกอบอาชีพที่ตัดสินใจเลือกไวหรือไม

                   หรือพอจะจัดหาทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ใกลเคียงเพื่อนํามาใชในการประกอบอาชีพได

                   หรือไม ทั้งนี้ ผูประกอบการ จะตองเสียคาขนสงเปนตนทุนเพิ่มขึ้น จะมีความคุมคากับการ

                   ลงทุนหรือไม เชน ตัดสินใจจะประกอบอาชีพจักสานตะกราจากไมไผ แตในพื้นที่ไมมีตนไผ

                   ซึ่งตองพิจารณาแลววา จะประกอบอาชีพนี้ไดหรือไม ถาตองการประกอบอาชีพนี้จริง ๆ

                   เนื่องจากตลาดมีความตองการมาก จึงตองคิดหาเพื่อซื้อไมไผจากแหลงอื่น ซึ่งจะทําใหตนทุน

                   การผลิตสูงขึ้น ในกรณีเชนนี้ รายไดจากการประกอบอาชีพนี้ จะมีความคุมคาหรือไม เปนสิ่งที่

                   ตองคิดใหรอบคอบกอนการตัดสินใจและดําเนินงานอาชีพ

                            2. ศักยภาพของพื้นที่ตามลักษณะภูมิอากาศ

                              ในแตละพื้นที่จะมีลักษณะภูมิอากาศแตกตางกัน เชน ประเทศไทยภาคกลางมี

                   อากาศรอน ภาคใตมีฝนตกเปนเวลานาน ภาคเหนือมีอากาศเย็น โดยเฉพาะการประกอบอาชีพ

                   เกษตรกรรมตองขึ้นอยูกับสภาพภูมิอากาศเปนสวนใหญ เชน การปลูกลิ้นจี่ ลําไย ตองการ



                                                                    ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ ระดับประถมศึกษา  :  (อช 11001)  51
                                                                                         ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56