Page 219 - cover-biology-boontieam new28-8 i_coateduv
P. 219
“ด่านเก็บภาษีสงขลา” จึงขึ้นกับกรมศุลกากรมาจนถึงปัจจุบัน เพื่อทำหน้าที่
ให้บริการผ่านพิธีการนำของเข้าและส่งของออก จัดเก็บภาษีอากรและตรวจปล่อย
สินค้า ป้องกันและปราบปรามการลักลอบและหลีกเลี่ยงศุลกากรในเขตพื้นที่
รับผิดชอบ ซึ่งรวมถึงฐานขุดเจาะกลางอ่าวไทยและพื้นที่พัฒนาร่วมไทย - มาเลเซีย
(JDA : Joint Development Area) ตลอดจนร่วมมือประสานงานกับส่วนราชการ
และหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ในการไปปฏิบัติหน้าที่นายด่านศุลกากรสงขลารอบแรก ตั้งแต่เดือน
พฤศจิกายน 2545 ซึ่งตรงกับวันลอยกระทงในปีนั้นพอดี นอกจากการปฏิบัติงาน
ตามภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบของด่านศุลกากรสงขลาแล้ว ยังได้ดำเนินการ อาคารที่ทำการด่านศุลกากรสงขลาหลังใหม่
พัฒนาบุคลากร โดยส่งเสริมการทำงานเป็นทีมในรูปของคณะทำงานและ
คณะกรรมการต่าง ๆ ปรับปรุงพัฒนาอาคารสถานที่ ยานพาหนะ พัสดุครุภัณฑ์ ในช่วงเวลานั้น ด่านศุลกากรชายแดนภาคใต้มีโครงการปรับปรุงพัฒนา
และระบบงานต่าง ๆ โดยการนำกิจกรรม 5 ส มาดำเนินการอย่างเต็มรูปแบบ ด่านฯ หลายแห่ง แต่ด่านศุลกากรสงขลาเป็นด่านฯ ทางเรือ จึงไม่มีโครงการพัฒนา
เช่นเดียวกับที่ ฝตส. รพท. ลาดกระบัง และด่านฯ แม่สอด จนทำให้คุณภาพชีวิต ก่อสร้างด่านฯ ใหม่แต่อย่างใด และก่อนที่ด่านศุลกากรชายแดนภาคใต้จะได้รับ
การทำงานและการพัฒนาด่านฯ สงขลาประสบผลสำเร็จ มีผลการปฏิบัติงานบรรลุ การพิจารณาจัดสรรเงินงบประมาณในการก่อสร้างปรับปรุงพัฒนาด่านฯ ทาง
เป้าหมายตามตัวชี้วัด เจ้าหน้าที่ของด่านฯ สงขลาอยู่กันแบบครอบครัว มักจะ สภาพัฒน์ฯ ได้ส่งเจ้าหน้าที่ลงพื้นที่เพื่อรับฟังข้อมูลและตรวจสอบความพร้อม
ไม่อยากย้ายไปอยู่ที่อื่น เพราะมีความรู้สึกอบอุ่นและปลอดภัย การทำงานก็เป็นไป ของโครงการของแต่ละด่านฯ ก่อนที่จะพิจารณาเห็นชอบโครงการ เพื่อนำไป
ตามระบบ ไม่ค่อยมีปัญหาหรือความยุ่งยากตรากตรำแบบด่านศุลกากรชายแดน ขอรับการจัดสรรเงินจากสำนักงบประมาณต่อไป แม้ด่านศุลกากรสงขลาจะไม่มี
อื่น ๆ จึงนับเป็นด่านศุลกากรที่น่าอยู่ด่านหนึ่งของกรมศุลกากร โครงการก่อสร้างปรับปรุงพัฒนาด่านฯ แต่ก็ได้รับโอกาสให้เข้าร่วมประชุมเพื่อ
นำเสนอภารกิจและผลการดำเนินงานของด่านฯ ต่อที่ประชุมด้วย ซึ่งหลังจากที่
โครงการก่อสร้างด่านศุลกากรสงขลาหลังใหม่ ผมได้นำเสนอรายงานเกี่ยวกับภารกิจผลการดำเนินงานและแนวโน้มในอนาคตแล้ว
ตอนที่ผมย้ายไปอยู่ที่ด่านศุลกากรสงขลา ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2545 เจ้าหน้าที่สภาพัฒน์ฯ ที่ลงไปรับฟังข้อมูลได้สอบถามผมว่า ด้วยปริมาณงานและ
จนถึงต้นปี พ.ศ. 2548 ด่านฯ สงขลาได้ย้ายไปอยู่ที่ตำบลหัวเขา อำเภอสิงหนคร ศักยภาพของด่านฯ สงขลาในขณะนั้นและแนวโน้มในอนาคตที่คาดการณ์ไว้
จังหวัดสงขลาหลายปีแล้ว และในเวลานั้นที่ทำการด่านฯ สงขลายังเป็นอาคาร ด่านฯ สงขลาไม่คิดที่จะนำเสนอโครงการพัฒนาด่านฯ เพื่อรองรับความเจริญเติบโต
ชั้นเดียว โดยมีอาคารคลังเก็บรักษาของกลางอีก 1 หลัง อยู่ภายในบริเวณ ในอนาคตบ้างหรือ ซึ่งเป็นคำถามที่โดนใจผมมาก เพราะผมคิดอยู่แล้วว่าควร
รั้วเดียวกัน พื้นที่ประมาณ 5 ไร่ ช่วงที่ไปอยู่มีอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ประมาณ จะต้องทำอะไรสักอย่างเพื่อเตรียมความพร้อมให้กับด่านฯ สงขลาในอนาคต
55 คน อาคารที่ทำการด่านฯ เป็นอาคารที่มีรูปแบบและขนาดเดียวกันกับด่าน แต่ยังไม่สบโอกาส เนื่องจากในช่วงเวลานั้น นโยบายระดับบนมุ่งเน้นการพัฒนา
ตรวจพืชสงขลา ซึ่งอยู่ฝั่งตรงข้ามด่านฯ ใกล้บริเวณปากทางเข้าท่าเรือสงขลา เฉพาะด่านศุลกากรชายแดนที่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านเท่านั้น
แต่มีอัตรากำลังเจ้าหน้าที่เพียง 5 - 6 คนเท่านั้น ต่างกันประมาณ 10 เท่า จึงถือ เมื่อโอกาสจากคำถามดังกล่าวมาถึง ผมจึงบอกกับที่ประชุมว่า ผมคิดที่จะเสนอ
ได้ว่าอาคารที่ทำการด่านฯ สงขลาในเวลานั้นคับแคบพอสมควร เมื่อเปรียบเทียบ โครงการก่อสร้างอาคารที่ทำการด่านศุลกากรสงขลาหลังใหม่ทดแทนอาคารที่ทำการ
กับอัตรากำลังที่มีอยู่ เดิม ซึ่งผู้อำนวยการสำนักงานศุลกากรภาคที่ 4 เห็นด้วย และขอให้ผมรีบ
216 217