Page 47 - คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ รหัส 2204-2004
P. 47

ตรรกศาสตร์ (Logic)

                       เป็นวิชาพื้นฐานที่ส าคัญในการศึกษาวิชาต่างๆ เช่น สังคมศาสตร์ปรัชญา คณิตศาสตร์

               วิทยาศาสตร์  ปัจจุบันได้มีการน ามาประยุกต์ใช้ในด้านคอมพิวเตอร์ เพราะตรรกศาสตร์เป็นวิชา

               ที่ศึกษาเกี่ยวกับกฏเกณฑ์และวิธีการให้เหตุผล นักปราชญ์ซึ่งเป็นบิดาของวิชาตรรกศาสตร์ คือ

               อาริสโตเติล (Aristotle, 384 - 322 ก่อนคริสตศักราช) โดยอาริสโตเติล เชื่อว่ามนุษณ์เท่านั้นที่

               สามารถคิดเกี่ยวกับเหตุผลได้ ท่านได้เขียนเขียนต าราชื่อ Organum ซึ่งเกี่ยวกับการให้เหตุผลที่

               ถูกต้อง หลักการของหนังสือเล่มนี้กลายมาเป็นหลักการของตรรกศาสตร์ในปัจจุบัน ซึ่งวิชานี้จะ

               เป็นวิชาที่ช่วยให้เข้าใจคณิตศาสตร์ได้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น จะอธิบายตามล าดับหัวข้อ ดังนี้




               5.1 ประพจน์

                      หมายถึง ประโยคหรือข้อความที่ใช้ส าหรับบอกค่าความเป็นจริงหรือเท็จเพียงอย่างใดอย่าง

                หนึ่ง ส่วน ประโยคหรือข้อความที่ไม่สามารถบอกค่าความจริงหรือเป็นเท็จได้จะไม่เรียกว่า

                ประพจน์

                ตัวอย่างของประโยคหรือข้อความที่เป็นประพจน์เช่น ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก สุนัขมี 4

                ขา ประเทศไทยมีชายแดนติดกับประเทศอินเดีย เดือนมกราคมมี 30 วัน

                ตัวอย่างของประโยคหรือข้อความที่ไม่เป็นประพจน์เช่น ห้ามเดินลัดสนาม กรุณาปิดไฟก่อน

                ออกจากห้อง เธอก าลังจะไปไหน เขาเป็นนักฟุตบอลทีมชาติไทย Y + 5 = 8



               5.2 การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อมต่างๆ

                ตัวเชื่อมประพจน์ และค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อม

                         โดยปกติเมื่อกล่าวถึงข้อความหรือประโยคนั้นมักจะมีกริยามากกว่าหนึ่งตัวแสดงว่าได้น า


                ประโยคมาเชื่อมกันมากว่าหนึ่งประโยค ดังนั้นถ้าน าประพจน์มาเชื่อมกันก็จะได้ประพจน์ใหม่

                ซึ่งสามารถบอกได้ว่าเป็นจริงหรือเป็นเท็จ ตัวเชื่อมประพจน์มีอยู่ 5 ตัว และตัวเชื่อมที่ใช้กันมาก

                คือ          “และ” “หรือ” “ไม่”  ที่เหลืออีกสองตัวคือ “ถ้า…แล้ว…” และ “…ก็ต่อเมือ…” เมื่อน า

                ประพจน์เชื่อมด้วยตัวเชื่อม และ ,หรือ,ถ้า…แล้ว…ก็ต่อเมื่อ

                โดยที่ถ้า p และ q แทนประพจน์ จะเขียน










                                                                                                                42
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52