Page 211 - เล่มหลักสูตรTNW2564
P. 211

หลักสูตรโรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง พ.ศ. 2560)   หน้า 207

                                              คำอธิบายรายวิชา  ว32201  ฟ_สิกสY 3
               รายวิชาเพิ่มเติม                                           กลุ<มสาระการเรียนรูCวิทยาศาสตรYและเทคโนโลยี

               ชั้นมัธยมศึกษาปHที่ 5 ภาคเรียนที่ 1                     เวลา  80  ชั่วโมง  จำนวน  2.0 หน<วยกิต


                      ศึกษาลักษณะการเคลื่อนที่แบบฮารNมอนิกอย)างง)าย ปริมาณที่เกี่ยวข2องกับการเคลื่อนที่แบบฮารNมอนิก

               อย)างง)าย แรงกับการสั่นของมวลติดปลายสริงและลูกตุ2มอย)างง)าย ความถี่ธรรมชาติและการสั่นพ2อง ธรรมชาติของ

               คลื่น อัตราเร็วของคลื่น หลักการที่เกี่ยวกับคลื่น พฤติกรรมของคลื่น แนวคิดเกี่ยวกับแสงเชิงคลื่น การแทรกสอด
               ของแสงผ)านสลิตคู) การเลี้ยวเบนของแสงผ)านสลิตเดี่ยว การเลี้ยวเบนของแสงผ)านเกรตติง    การสะท2อนและการ

               หักเหของแสง การมองเห็นและการเกิดภาพ ภาพจากเลนสNและกระจกเงาทรงกลม แสงสีและการมองเห็นแสงสี

               ปรากฏการณNธรรมชาติและการใช2ประโยชนNเกี่ยวกับแสง โดยใช2กระบวนการ ทางวิทยาศาสตรN การสืบเสาะหา
               ความรู2 การสืบค2นข2อมูล การสังเกตวิเคราะหN เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพื่อให2เกิดความรู2 ความ

               เข2าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรN รวมทั้งทักษะแห)งศตวรรษที่ 21 ใน
               ด2านการใช2เทคโนโลยีสารสนเทศ ด2านการคิดและการแก2ปRญหา สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู2และนำความร2ไูปใช2ใน

               ชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตรN จริยธรรม คุณธรรม และค)านิยมที่เหมาะสม


               ผลการเรียนรูC

                      1. ทดลองและอธิบายการเคลื่อนที่แบบฮารมNอนิกอย)างง)ายของวัตถุติดปลายสปริงและลูกตุ2มอย)างง)าย
               รวมทั้งคำนวณปริมาณต)างๆ ที่เกี่ยวข2อง

                      2. อธิบายความถี่ธรรมชาติของวัตถุและการเกิดการสั่นพ2อง

                      3. อธิบายปรากฏการณNคลื่น ชนิดของคลื่น ส)วนประกอบของคลื่น การแผ)ของหน2าคลื่นด2วยหลักการของ
               ฮอยเกนสN และการรวมกันของคลื่นตามหลักการซ2อนทับ พร2อมทั้งคำนวณอัตราเร็ว ความถี่ และความยาวคลื่น

                      4. สังเกตและอธิบายการสะท2อน การหักเห การแทรกสอด และการเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ำ รวมทั้ง

               คำนวณปริมาณต)างๆ ที่เกี่ยวข2อง
                      5. ทดลองและอธิบายการแทรกสอดของแสงผ)านสลิตคู)และเกรตติง การเลี้ยวเบนและการแทรกสอดของ

               แสงผ)านสลิตเดี่ยว รวมทั้งคำานวณปริมาณต)างๆ ที่เกี่ยวข2อง
                      6. ทดลองและอธิบายความสัมพันธN ระหว)างดรรชนีหักเห มมุตกกระทบและมุมหักเห รวมทั้งอธิบาย

               ความสัมพันธNระหว)างความลึกจริงและความลึกปรากฏมุมวิกฤตและการสะท2อนกลับหมดของแสงและคำานวณ

               ปริมาณต)างๆ ที่เกี่ยวข2อง
                      7. ทดลองและอธิบายการสะท2อนของแสงที่ผิววัตถุตามกฎการสะท2อน เขียนรังสีของแสงและคำนวณ

               ตำแหน)งและขนาดภาพของวัตถเมื่อแสงตกกระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลมรวมทั้งอธิบายการนำ
               ความรู2เรื่องการสะท2อนของแสงจากกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม ไปใช2ประโยชนNในชีวิตประจำวัน

                      8. ทดลองและเขียนรังสีของแสงเพื่อแสดงภาพที่เกิดจากเลนสบNาง หาตำแหน)ง ขนาด ชนิดของภาพและ

               ความสัมพันธNระหว)างระยะวัตถุระยะภาพและความยาวโฟกัส รวมทั้งคำานวณปริมาณต)างๆ ที่เกี่ยวข2องและ
               อธิบายการนำความรู2เรื่องการหักเหของแสงผ)านเลนสNบางไปใช2ประโยชนNในชีวิต ประจำวัน
   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216