Page 213 - เล่มหลักสูตรTNW2564
P. 213
หลักสูตรโรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง พ.ศ. 2560) หน้า 209
คำอธิบายรายวิชา ว32202 ฟ_สิกสY 4
รายวิชาเพิ่มเติม กลุ<มสาระการเรียนรูCวิทยาศาสตรYและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปHที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 80 ชั่วโมง จำนวน 2.0 หน<วยกิต
ศึกษาการเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียง การสะท2อน การหักเห การแทรกสอด และการเลี้ยวเบนของ
คลื่นเสียง การได2ยินเสียง ความเข2มเสียง คุณภาพเสียง มลพิษทางเสียง คลื่นนิ่งของเสียง การสั่นพ2องของเสียง การ
เกิดบีต ปรากฏการณNดอปเพลอรN คลื่นกระแทกของเสียง ธรรมชาติของไฟฟlาสถิต การเหนี่ยวนำไฟฟlาสถิต กฎของ
คูลอมบN สนามไฟฟlา ศักยNไฟฟlา ความต)างศักยN ความจุและพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ การต)อตัวเก็บประจุ
กระแสไฟฟlาในลวดตัวนำ กฎของโอหNม สภาพต2านทาน การต)อตัวต2านทาน อีเอ็มเอฟของแหล)งกำเนิดไฟฟlา
กระแสตรง พลังงานไฟฟlา กำลังไฟฟlา การต)อแบตเตอรี่ การวิเคราะหNวงจร ไฟฟlากระแสตรง การเปลี่ยนพลังงาน
ทดแทนเปYนพลังงานไฟฟlา และเทคโนโลยีด2านพลังงาน โดยใช2กระบวนการทางวิทยาศาสตรN การสืบเสาะหาความรู2
การสืบค2นข2อมูล การสังเกต วิเคราะหN เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพื่อให2เกิดความรู2ความเข2าใจ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรN รวมทั้งทักษะแห)งศตวรรษที่ 21 ในด2านการใช2
เทคโนโลยีสารสนเทศ ด2านการคิดและการแก2ปRญหา สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู2และนำ ความรู2ไปใช2ในชีวิตของ
ตนเอง มีจิตวิทยา ศาสตรN จริยธรรม คุณธรรม และค)านิยมที่เหมาะสม
ผลการเรียนรูC
1. อธิบายการเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียง ความสัมพันธNระหว)างคลื่นการกระจัดของอนุภาคกับคลื่น
ความดัน ความสัมพันธNระหว)างอัตราเร็วของเสียงในอากาศที่ขึ้นกับอุณหภูมิในหน)วยองศาเซลเซียส การสะท2อน การ
หักเห การแทรกสอด การเลี้ยวเบน ของคลื่นเสียง รวมทั้งคำนวณปริมาณต)าง ๆ ที่เกี่ยวข2อง
2. อธิบายความเข2มเสียง ระดับเสียง องคNประกอบของการได2ยิน คุณภาพเสียง และมลพิษทางเสียง รวมทั้ง
คำนวณปริมาณต)าง ๆ ที่เกี่ยวข2อง
3. ทดลองและอธิบายการเกิดการสั่นพ2องของอากาศในท)อปลายเปดหนึ่งด2าน รวมทั้งสังเกตและอธิบายการ
เกิดบีต คลื่นนิ่ง ปรากฏการณNดอปเพลอรN คลื่นกระแทกของเสียง คำนวณปริมาณต)าง ๆ ที่เกี่ยวข2อง และนำความรู2
เรื่องเสียงไปใช2ในชีวิตประจำวัน
4. ทดลองและอธิบายการทำวัตถุที่เปYนกลางทางไฟฟlาให2มีประจุไฟฟlาโดยการขัดสีกันและการเหนี่ยวนำ
ไฟฟlาสถิต
5. อธิบายและคำนวณแรงไฟฟlาตามกฎของคูลอมบN
6. อธิบายและคำนวณสนามไฟฟlาและแรงไฟฟlาที่กระทำกับอนุภาคที่มีประจุไฟฟlาที่อยู)ในสนามไฟฟlา
รวมทั้งหาสนามไฟฟlาลัพธNเนื่องจากระบบจุดประจุโดยรวมกันแบบเวกเตอรN
7. อธิบายและคำนวณพลังงานศักยNไฟฟlา ศักยNไฟฟlา และ ความต)างศักยNระหว)างสองตำแหน)งใด ๆ
8. อธิบายส)วนประกอบของตัวเก็บประจุ ความสัมพันธNระหว)างประจุไฟฟlา ความต)างศักยN และความจุของ
ตัวเก็บประจุ และอธิบายพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ และความจุสมมูล รวมทั้งคำนวณปริมาณต)าง ๆ ที่เกี่ยวข2อง