Page 89 - water pocket book_Neat
P. 89

บทที่ ๓

                     สถำนกำรณ์และปัญหำด้ำนทรัพยำกรน�้ำของประเทศ

         ๓.๑ ศักยภำพทรัพยำกรน�้ำในประเทศ

                   ปริมำณน�้ำฝน
                                                   ี
                      ี
                                            �
                                                 ื
                   พ้นท่ประเทศไทยประกอบด้วย ๒๕ ลุ่มน้ำหลักมีพ้นท่ประมำณ ๕๑๔,๐๐๘ ตำรำงกิโลเมตร
                    ื
         หรือ ๓๒๑.๒ ล้ำนไร่ สภำพพื้นที่ตั้งอยู่ภำยใต้อิทธิพลของลมมรสุม ๒ ชนิด ได้แก ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และ
                                                        ่
                                ี
                 ั
                                ่
                           ื
                                                                        ื
                      ี
             ุ
                                    ุ
                                            ี
                                                 ั
         ลมมรสมตะวนออกเฉยงเหนอ โดยทลมมรสมตะวนตกเฉยงใต้พดปกคลมประเทศไทยระหว่ำงกลำงเดอน
                                        ั
                                                     ุ
                                         ี
         พฤษภำคมถึงกลำงเดือนตุลำคม มีปริมำณฝนรำยปีเฉล่ยท่วประเทศประมำณ ๑,๔๕๕ มิลลิเมตร มีควำมผันแปร
                                           ั
         ตำมพื้นที่ระหว่ำง ๙๐๐-๔,๐๐๐ มิลลิเมตรต่อปี ดังแสดงในรูปที่ ๓-๑
                   ปริมำณน�้ำผิวดิน
                                    ิ
                         �
                                                  ึ
                                                           �
                                                                   ี
                   ปริมำณน้ำท่ำตำมธรรมชำต (Natural Flow) ซ่งเป็นปริมำณน้ำบนผิวดินท่เกิดจำกฝน
                                           ั
         โดยหักกำรซึมลงใต้ดิน และกำรระเหยแล้ว มีปริมำณรวมท่วประเทศ ๒๘๕,๒๒๗ ล้ำนลูกบำศก์เมตร เป็นปริมำณ
         น�้ำท่ำไหลออกนอกลุ่มน�้ำ ที่เหลือจำกกำรเก็บกักและกำรใช้ประโยชน์แล้ว (Runoff) จ�ำนวน ๒๒๔,๐๒๔ ล้ำน
         ลูกบำศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ ๗๙ ของน�้ำท่ำธรรมชำติ โดยลุ่มน�้ำที่มีปริมำณน�้ำท่ำ (Runoff) สูง ได้แก่ลุ่มน�้ำโขง
                                                         �
                                                                         �
         (อีสำน) ภำคใต้ฝั่งตะวันออกและแม่กลอง ตำมล�ำดับ ในขณะท่ลุ่มน้ำท่มีปริมำณน้ำท่ำน้อยท่สุด ได้แก่ ลุ่มแม่น้ำ
                                                �
                                              ี
                                                               ี
                                                  ี
                                            ี
                                          �
                                                             ี
         สะแกกรัง วัง และโตนเลสำบ ตำมล�ำดับ ส�ำหรับลุ่มน้ำท่มีปริมำณน้ำท่ำรำยปีต่อพ้นท่ลุ่มน้ำมำกท่สุด ได้แก่
                                                           ื
                                                                    ี
                                                  �
                                                                �
         ลุ่มน�้ำชำยฝั่งทะเลตะวันออก และน้อยที่สุด ได้แก่ ลุ่มน�้ำวัง
                   ปริมำณน�้ำบำดำล
                   ประเทศไทยมี แอ่งน�้ำบำดำลทั้งหมด ๒๗ แอ่งน�้ำบำดำล มีปริมำณกำรกักเก็บในชั้นน�้ำบำดำล
         รวมประมำณ ๑.๑๓ ล้ำนล้ำนลูกบำศก์เมตร (ดังแสดงในรูปที่ ๓-๒) มีศักยภำพที่จะพัฒนำขึ้นมำใช้ได้ โดยไม่
         กระทบต่อปริมำณน�้ำบำดำลที่มีอยู่ได้รวมปีละ ๔๕,๓๘๕ ล้ำนลูกบำศก์เมตร (ที่มำ: กรมทรัพยำกรน�้ำบำดำล
         เม.ย. ๒๕๖๐) อย่ำงไรก็ตำมในกำรพัฒนำน�้ำบำดำลขึ้นมำใช้นั้น มีข้อจ�ำกัดในเรื่องของควำมคุ้มทุน เนื่องจำก
         มีค่ำใช้จ่ำย (ค่ำไฟฟ้ำ/ค่ำน�้ำมัน/ค่ำบ�ำรุงรักษำ) ในกำรสูบน�้ำ อีกทั้งก่อนท�ำกำรเจำะบ่อน�้ำบำดำล จ�ำเป็นต้อง
         มีกำรส�ำรวจเพ่อให้สำมำรถก�ำหนดจุดในกำรเจำะบ่อน้ำบำดำลท่มีปริมำณและคุณภำพน้ำบำดำลท่ด โดยเฉพำะ
                                               ี
                                                                   ี
                  ื
                                         �
                                                             �
                                                                   ี
         พื้นที่ที่เป็นหินแข็งและพื้นที่น�้ำเค็มซึ่งจะมีค่ำใช้จ่ำยในกำรด�ำเนินกำรส�ำรวจค่อนข้ำงสูง
                   ปริมำณแหล่งน�้ำต้นทุนที่ควบคุมได้
                                                �
                                                           ู
                    ิ
                                 ิ
                                   ่
                                   ี
                   ปรมำณนำท่ำธรรมชำตเฉลยของประเทศไทยมจำนวน ๓,๔๙๖ ลกบำศก์เมตรต่อคนต่อปี
                        ้
                                                ี
                        �
                      ี
                    ี
          ึ
                      �
                         ื
         ซ่งถือว่ำเป็นค่ำเฉล่ยท่ต่ำเม่อเทียบกับประเทศในภูมิภำคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีกำรพัฒนำแหล่งเก็บกักน้ำ �
         รวมควำมจุ ๘๑,๓๗๓ ล้ำนลูกบำศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ ๒๘ ของปริมำณน�้ำท่ำธรรมชำติ จ�ำแนกเป็นแหล่ง
              �
         เก็บกักน้ำขนำดใหญ่ ๗๓,๔๘๐ ล้ำนลูกบำศก์เมตร ขนำดกลำง ๔,๒๐๐ ล้ำนลูกบำศก์เมตร และขนำดเล็ก ๓,๖๙๓
         ล้ำนลูกบำศก์เมตร มีปริมำณน�้ำที่น�ำไปใช้ประโยชน์ได้ปีละประมำณ ๖๕,๐๐๐ ล้ำนลูกบำศก์เมตร ซึ่งปริมำณ
                                                                 ื
         น้ำส่วนน มำกกว่ำร้อยละ ๙๐ มำจำกอ่ำงเก็บน้ำขนำดใหญ่ เช่น เข่อนภูมิพล เข่อนสิริกิต เข่อนศรีนครินทร์
                                                               ์
                                                          ื
              ี
                                                  ื
                                      �
          �
                                                               ิ
              ้
         และเขื่อนวชิรำลงกรณ์
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94