Page 90 - water pocket book_Neat
P. 90
๓.๒ สภำพเศรษฐกิจและสังคม
ประเทศไทยมีประชำกรประมำณ ๖๖ ล้ำนคน (ข้อมูลปี พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยมีสัดส่วนควำมหนำแน่น
�
ี
ี
�
ี
ี
ื
�
ื
ประชำกรในพ้นท่ลุ่มน้ำภำคใต้และภำคกลำงมำกท่สุด พ้นท่ลุ่มน้ำท่มีกำรพัฒนำแหล่งน้ำ ระบบชลประทำน
และกำรพัฒนำด้ำนอุตสำหกรรมจะมีมูลค่ำผลิตภัณฑ์มวลรวมค่อนข้ำงสูง เช่น ลุ่มน�้ำเจ้ำพระยำ ลุ่มน�้ำชำยฝั่ง
ทะเลตะวันออก ลุ่มน�้ำภำคใต้ฝั่งตะวันออก และลุ่มน�้ำมูล เป็นต้น
๓.๓ กำรใช้น�้ำและกำรบริหำรจัดกำร
พื้นที่กำรเกษตร
ประเทศไทยมีพื้นที่กำรเกษตร ๑๔๙.๒ ล้ำนไร่ โดยภำคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่กำรเกษตร
มำกที่สุด คือ ๖๓.๖ ล้ำนไร่ คิดเป็นร้อยละ ๔๓ ของพื้นที่กำรเกษตรทั้งประเทศ รองลงมำ คือ พื้นที่ภำคกลำง
มีพื้นที่กำรเกษตรรวม ๒๗.๒ ล้ำนไร่ คิดเป็นร้อยละ ๑๘ ของพื้นที่กำรเกษตรทั้งประเทศ
ปัจจุบัน (ปี พ.ศ. ๒๕๖๐) มีกำรพัฒนำพื้นที่ชลประทำนรวม ๓๒.๗๕ ล้ำนไร่ คิดเป็นร้อยละ ๒๒
ื
่
ี
ื
ี
ี
ื
่
้
�
ื
ู
ของพนทกำรเกษตร ทเหลออก ๑๑๗ ล้ำนไร่ หรอกว่ำร้อยละ ๗๘ เป็นพ้นทปลกพชโดยใช้นำฝนเป็นหลก
ั
้
่
ี
ื
�
ื
ซ่งมีควำมเส่ยงต่อกำรขำดแคลนน้ำมำจำกควำมผันแปรของสภำพลม ฟ้ำ อำกำศ อีกท้งในบำงพ้นท่ยังม ี
ี
ี
ั
ึ
สภำพภูมิประเทศไม่เอื้ออ�ำนวยต่อกำรล�ำเลียงน�้ำจำกแหล่งน�้ำมำใช้ประโยชน์อีกด้วย
ี
ื
ี
ี
พ้นท่ศักยภำพท่เหมำะสมต่อกำรปลูกข้ำวท่พัฒนำให้เป็นพ้นท่เกษตรชลประทำน มีทั้งสิ้น
ี
ื
ี
ั
ื
ื
ี
�
ื
๖๐ ล้ำนไร่ พ้นท่ดังกล่ำวไม่ได้อยู่ในพ้นท่อนุรักษ์ตำมกฎหมำย รวมท้งเขตรักษำพันธุ์สัตว์ป่ำ และพ้นท่ชุ่มน้ำ
ี
ื
แหล่งน้ำ พรุริมชำยทะเล และเป็นพ้นท่มีควำมลำดชันน้อยกว่ำร้อยละ ๒๐ โดยพัฒนำเป็นพ้นท่ชลประทำน
ี
ี
ื
�
ไปแล้ว ๑๘ ล้ำนไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ ๕๕ ของพื้นที่ชลประทำนทั้งหมด (๓๒.๗๕ ล้ำนไร่)
๓.๔ สภำพปัญหำทรัพยำกรน�้ำ
ึ
�
�
ื
�
�
ปัญหำทรัพยำกรน้ำ ประกอบด้วยกำรขำดแคลนน้ำ น้ำท่วม น้ำเสีย และน้ำเค็ม เกิดข้นเน่องจำก
�
สำเหตุต่ำงๆ ได้แก่ ปริมำณน�้ำฝนที่ไม่เพียงพอหรือมำกเกินไป กำรบุกรุกพื้นที่ป่ำต้นน�้ำและแหล่งน�้ำสำธำรณะ
ื
ึ
ี
กำรเพ่มข้นของประชำกรและขยำยตัวของชุมชนเมือง กำรพัฒนำพ้นท่เศรษฐกิจ กำรขยำยตัวด้ำนอุตสำหกรรม
ิ
�
ิ
ี
ี
กำรท่องเท่ยวพิเศษ กำรปลูกพืชท่ไม่เหมำะสมกับสภำพดินและน้ำ กำรสร้ำงส่งกีดขวำงทำงน้ำ กำรปล่อยมลพิษ
�
ี
�
ี
�
ลงสู่แม่น้ำล�ำคลอง กำรขำดแหล่งเก็บกักน้ำต้นทุนท่เพียงพอ และกำรบริหำรจัดกำรท่ไม่มีประสิทธิภำพเพียงพอ
ซึ่งจะแตกต่ำงกันตำมสภำพพื้นที่ในแต่ละลุ่มน�้ำ สรุปได้ดังนี้