Page 60 - MDES 2021 e-book
P. 60
การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกด้าน e-Transactions และ e-Commerce
ี
�
ื
ข้อมูลผลการศึกษาวิจัยและงานวิชาการถือเป็นเคร่องมือและกลไกสาคัญท่ช่วยให้ประเทศไทยมีขีดความ
ิ
ึ
�
�
ี
สามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจท่เพ่มข้นได้ จากการสารวจข้อมูลเบ้องต้น สานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง
ื
อิเล็กทรอนิกส์ พบว่าประเทศไทยยังขาดข้อมูลวิจัยเชิงลึกที่จะสะท้อนสถานภาพข้อเท็จจริงในการพัฒนาธุรกรรม
�
ทางอิเล็กทรอนิกส์และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่สาคัญ ๆ ซ่งอาจทาให้ประเทศต้องเสียโอกาสทางเศรษฐกิจไป
�
ึ
�
ื
�
ในหลายมิติ จึงได้ดาเนินการศึกษาและจัดทารายงานวิจัยอย่างต่อเน่อง โดยมีรายงานวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก
ด้าน e-Transactions และ e-Commerce จ�านวน 2 เรื่อง ได้แก่
1
รายงานการศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจ 2
และสังคมจากการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล
ี
ท่เก่ยวข้องกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ รายงานการวิเคราะห์องค์ประกอบตัวช้วัดระดับ
ี
ี
ื
จากการศึกษาวิจัยและเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ สากลเพ่อสะท้อนสถานภาพและแนวทาง
ื
ทั้งภาคธุรกิจและภาคประชาสังคมกว่า 8 ภาค การขับเคล่อนธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของ
ี
�
อุตสาหกรรม พบว่า ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ประเทศไทย โดยจากการสารวจพบว่าตัวช้วัด
ั
ี
ึ
จากการดาเนินธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ในระดับสากลของประเทศน้นมีอันดับท่ดีข้น
�
ใน 8 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ก่อให้เกิดการสร้าง เช่น อันดับความสามารถทางการแข่งขันด้าน
่
มลค่าเพมใหม่ประมาณร้อยละ 0.27 ของ ดิจิทัลของประเทศ (IMD World Digital
ิ
ู
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) หรือ Competitiveness Ranking) โดยสรุปประเด็น
�
ี
คิดเป็นมูลค่าถึง 42,831 ล้านบาท นอกจากน ี ้ ท่ประเทศไทยสามารถทาได้ดี ได้แก่ ด้าน
ื
ยังเกิดการเปล่ยนแปลงและผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจมหภาค ด้านโครงสร้างพ้นฐานดิจิทัล
ี
โดยสามารถประเมินผลตอบแทนทางสังคม ด้านมาตรฐาน กฎระเบียบ และบริการดิจิทัล
ึ
ี
(SROI) ได้เท่ากับ 1.02 ส่วนประเด็นท่ควรต้องพัฒนาให้ดีข้น ได้แก่
การพัฒนากาลังคนดิจิทัล การส่งเสริมภาคธุรกิจ
�
รวมถึงการส่งเสริมการประยุกต์ใช้งานเทคโนโลย ี
และข้อมูล
58 Annual Report 2021
Ministry of Digital Economy and Society