Page 10 - Microsoft Word - บทที่ 2.doc
P. 10
-12-
รูลวงหนา และเมื่อถือวาประชาชนตองรูลวงหนา จึงไมยอมใหปฏิเสธวาไมรูกฎหมาย ตามที่บัญญัติไวในมาตรา 64 นั่นเอง
อยางไรก็ตาม มีบางกรณีที่หากไมยอมรับฟงความไมรูกฎหมาย ก็อาจจะเปน การไมยุติธรรมจนเกินไป มาตรา 64 จึงยอมใหมีการแกตัวไดบาง เมื่อพิจารณาถึงสภาพ แหงความผิด หมายความวา กรณีที่เปนความผิดเพราะกฎหมายหาม (MALA PROLIBITA) มิใชความผิดในตัวเอง (MALA IN SE) โดยพฤติการณหมายถึงกรณีเฉพาะตัวผูกระทําผิด เชน คนตางดาวเพิ่งเดินทางเขามาในประเทศไทย หรือผูที่อยูหางไกลมาก ไมทราบถึง กฎหมายท่ีประกาศใชใหม เม่ือพิจารณาถึงสภาพความผิด และพฤติการณแลว ศาลอาจ อนุญาตใหแสดงพยานหลักฐาน และเมื่อมีการแสดงพยานหลักฐานแลว ถาศาลเชื่อความ ไมรูกฎหมาย ศาลอาจลดโทษใหแกผูกระทําผิดได หรือไมลดโทษก็ได แตศาลจะไม ลงโทษไมได แตก็มีขอสังเกตอยูวา ความไมรูกฎหมาย ตามมาตรา 64 หมายถึงผูไมรูวามี กฎหมายอาญาบัญญัติวาการกระทํานั้นเปนความผิด หากเปนความไมรูกฎหมายอื่นๆ เชน กฎหมายแพง เชนนี้ ไมเกี่ยวกับมาตรา 64 เลย แตเปนการสําคัญผิดในขอเท็จจริงอันสืบ เนื่องมาจากการเขาใจในกฎหมายแพงผิดไป อันอาจทําใหผูกระทําไมผิด โดยอางวาไมมี เจตนาได7
4. ผูซื้อตองระวัง
LATIN : CAVEAT EMPTOR: QUI IGNORARE NON DEDEBUIT QUOD JUS
ALIENUM EMIT.
ENGLISH : LET A PURCHASER BEWARE: NO ONE QUGHT IN IGNORANCE
TO BUY THAT WHICH IS THE RIGHT OF ANOTHER.
สุภาษิตบทนี้ หมายความวา กอนที่จะตกลงซื้อขายอะไรกัน ผูซื้อจะตองตรวจ ดูแลระมัดระวังสิ่งของที่ตองการซื้อใหถูกตองตามความตองการเสียกอน ทั้งปริมาณและ คุณภาพ เมื่อรับมอบมาแลวตองสันนิษฐานวาผูซื้อไดตรวจถูกตองแลว ซึ่งตรงกับประมวล กฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 473 บัญญัติวา “ผูขายยอมไมตองรับผิด ในกรณีดังกลาว
ตอไปนี้
(1) ถาผูซื้อไดรูอยูแลว แตในเวลาซื้อขายวามีความชํารุดบกพรอง หรือควรจะ
ไดรูเชนนั้น หากใชความระมัดระวังอันพึงคาดหมายไดแตวิญูชน 7 แหลงเดิม. หนา 329-330.