Page 9 - Microsoft Word - บทที่ 2.doc
P. 9
-11-
การใชหลัก “กรรมเปนเครื่องชี้เจตนา” เพื่อดูวาผูกระทํามีเจตนาฆา หรือเจตนา ทําราย ศาลพิจารณาจาก “อาวุธ” ที่ใชในการกระทํา “อวัยวะ” ที่ถูกกระทํา “ลักษณะ บาดแผล” ที่ถูกกระทํา “พฤติการณอื่นๆ” ดังตัวอยางตอไปนี้6
คําพิพากษาฎีกาที่ 1439/2510 การที่จําเลยใชอาวุธยิงปนไปยังผูตายกับพวก หลายนัด สอเจตนาใหเห็นวาจําเลยตั้งใจฆา
คําพิพากษาฎีกาที่ 106/2501 การยิงในระยะใกล เชน 1 วา ถูกขาเหนือตาตุม กระดูกแตก ซึ่งถาต้ังใจจะฆาจริงๆ ก็คงยิงถูกที่สําคัญได แสดงวาไมมีเจตนาฆา มีแตเจตนา ทํารายเทานั้น
คําพิพากษาฎีกาที่ 500/2500 จําเลยนํากระบือเขามาในราชอาณาจักร โดยไม ผานดานศุลกากร ตอสูวาไมมีเจตนาหลีกเลี่ยงภาษีไมได แมมีใบอนุญาตของสัตวแพทยให นําเขามาตรวจโรค ก็ไมคุมความผิด
คําพิพากษาฎีกาท่ี 167/2466 เอาไมตะพดขนาดใหญตีศีรษะเขา 2 คร้ัง ถูก กะโหลกศีรษะยุบ วินิจฉัยวามีเจตนาฆาคนตาย
3. ความไมรูขอกฎหมายแกตัวไมได
LATIN : IGNORAUTIA JURIS NON EXCUSAT. ENGLISH : IGORANCE OF THE LAW, EXCUSES ON MAN.
สุภาษิตกฎหมายนี้ ตรงกับประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 64 บัญญัติวา “บุคคล จะแกตัววาไมรูกฎหมายเพื่อใหพนจากความผิดในทางอาญาไมได แตถาศาลเห็นวาตาม สภาพและพฤติการณ ผูกระทําความผิดอาจจะไมรูวากฎหมายบัญญัติวาการกระทํานั้นเปน ความผิด ศาลอาจอนุญาตใหแสดงพยานหลักฐานตอศาล และถาศาลเชื่อวาผูกระทําไมรูวา กฎหมายบัญญัติไวเชนนั้น ศาลจะลงโทษนอยกวาที่กฎหมายกําหนดไวสําหรับความผิดนั้น เพียงใดก็ได”
มาตรา 64 ไมยอมใหยกเอาความไมรูกฎหมายขึ้นเปนขอแกตัว เพราะกฎหมาย ประสงคใหประชาชนไดศึกษาและเรียนรูลวงหนาวาการกระทําหรือไมกระทําของตนมี กฎหมายบัญญัติเปนความผิดหรือไม เหตุผลที่กฎหมายอาญาตองบัญญัติความผิดไวอยาง ชัดเจนแนนอนปราศจากการคลุมเครือ (มาตรา 2) ก็เพราะกฎหมายตองการใหประชาชนได
6 เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. (2529). คําอธิบายกฎหมายอาญาภาค 1. หนา 122-123.