Page 8 - Microsoft Word - บทที่ 2.doc
P. 8

-10-
1. ไมมีกฎหมาย ไมมีการลงโทษ LATIN : NULLA POENA, SINE LEGE.
ENGLISH : THERE MUST BE NO PUNISHMENT EXCEPT IN ACCRODANCE WITH THE LAW
สุภาษิตกฎหมายนี้ มีวัตถุประสงคในอันที่จะใหหลักประกันสิทธิเสรีภาพของ ประชาชน เพราะมนุษยเกิดมายอมมีเสรีภาพโดยกฎแหงธรรมชาติ (NATURAL LAW) รัฐ จึงตองคุมครองปองกันสิทธิเสรีภาพของบุคคล โดยบัญญัติใหเสรีภาพไวในรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทยทุกฉบับ นอกจากนั้น ยังปรากฏในประมวลกฎหมายอาญามาตรา 2 วรรคแรก อีกวา “บุคคลจักตองรับโทษทางอาญาตอเมื่อไดกระทําการอันกฎหมายที่ใช ในขณะกระทํานั้น บัญญัติเปนความผิดและกําหนดโทษไว และโทษที่จะลงแกผูกระทํา ความผิดนั้นตองเปนโทษที่บัญญัติไวในกฎหมาย”
ดังนั้น สุภาษิตที่วา “ไมมีกฎหมาย-ไมมีการลงโทษ” จึงมีอิทธิพลตอการ บัญญัติกฎหมายประเทศเรื่อยมา นับแตอดีตจนกระทั่งปจจุบัน เปนการธํารงไวซ่ึงความ ยุติธรรมตลอดมา
LATIN ENGLISH
2. กรรมเปนเครื่องชี้เจตนา
: ACTA EXTERIORA INDIECANT INTERIORA SECRETA
: EXTERNAL ACTIONS SHOW INTERNAL SECRETS OR ACTS
INDICATETHE INTENTION
“กรรม” หมายถึง กิริยาอาการที่แสดงออกโดยการกระทําอยางใดอยางหนึ่ง “เจตนา” คือ ความต้ังใจของบุคคล แลวแสดงออกโดยการกระทํา เจตนา
ในทางกฎหมายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 วรรคสอง ซึ่งไดแก “การกระทําโดย รูสํานึกในการท่ีกระทํา และในขณะเดียวกันผูกระทําประสงคตอผล หรือยอมเล็งเห็นผล ของการกระทํานั้น”
เนื่องจากเจตนาเปนเรื่องที่อยูภายในจิตใจของผูกระทํา ไมมีใครหยั่งรูได ใน การวินิจฉัยการกระทําความผิดในคดีอาญาวาผูกระทํามีเจตนาฆา หรือมีเพียงเจตนาทําราย หรือมีเจตนาที่จะกระทําความผิดในทางอาญาอื่นใดหรือไม จึงตองถือหลักที่วา “การ กระทําที่แสดงออกมาภายนอกเปนเครื่องชี้เจตนา” นั่นเอง






















































































   6   7   8   9   10