Page 12 - Microsoft Word - บทที่ 2.doc
P. 12

-14-
ไมรูถึงความผูกพัน หรือขอบกพรองตางๆ ขึ้นมาลบลางยอมไมได หรืออางไมขึ้น สุภาษิต บทนี้อาจเทียบกับประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 569 ที่วา “อันสัญญาเชา อสังหาริมทรัพยนั้นยอมไมระงับไปเพราะเหตุโอนกรรมสิทธิ์ทรัพยสินซึ่งใหเชา”
ผูรับโอนยอมรับไปทั้งสิทธิและหนาที่ของผูโอนซึ่งมีตอผูเชานั้นดวย
ตัวอยางเชน นาย ก. ขายอสังหาริมทรัพย คือ ที่ดินเนื้อที่ 7 ไร ซึ่งเปนที่นา ใหกับนาย ข. ที่ดินแปลงนี้ นาย ก. ไดใหนาย ค. เชาทํานา และสัญญาเชายังไมหมดอายุ ใน วันที่นาย ก. โอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน 7 ไร ใหกับนาย ข. ดังนั้น นาย ข. ผูรับโอนจึงตอง รับภาระติดพัน คือ สัญญาเชาที่ดิน ซึ่งนาย ก. ไดทําไวกับนาย ค. นั้นดวย
2. ที่มาของกฎหมายในระบบกฎหมายที่ไมเปนลายลักษณอักษร
กฎหมายที่ไมเปนลายลักษณอักษร หรือกฎหมายจารีตประเพณี ที่มาของ กฎหมายที่สําคัญอยางยิ่ง คือ จารีตประเพณี เนื่องจากตนกําเนิดของระบบกฎหมายนี้ ยึดถือ จารีตประเพณีเปนหลักในการตัดสินคดี ครั้นเมื่อตัดสินคดีไปแลว ยอมกลายเปนคํา พิพากษา ขณะเดียวกับนักปราชญกฎหมายหลายๆ ฝายตางก็แสดงออกซึ่งความคิดเห็น เพื่อ เปนหลักกฎหมายในการตัดสินคดี โดยอาศัยความยุติธรรมเปนพื้นฐาน อยางไรก็ดี หาก พิจารณาในทางประวัติศาสตร นโยบายของ รัฎฐาธิปตย ก็นับวาเปนที่มาของกฎหมายแต ดั้งเดิม พรอมๆ กับความเชื่อถือในหลักของศาสนา ซึ่งกฎหมายของบางประเทศในปจจุบัน ก็ยังนําหลักศาสนาเขามาบัญญัติไวเปนกฎหมายดวย
จึงอาจกลาวไดวา ที่มาของระบบกฎหมายที่ไมเปนลายลักษณอักษรนั้น มี 6 ประการ
1) รัฎฐาธิปตย หมายถึง ผูมีอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ในสมัย โบราณที่มนุษยยังรวมตัวกันในสังคมกลุมยอย หัวหนาผูบังคับบัญชา เชน หัวหนาหมู เผา จําตองวางระเบียบในสังคมในรูปคําสั่ง คําบัญชา หรือคําบังคับ เมื่อสังคมเจริญขึ้นมาจน เปนรัฐ หรือประเทศ ถาเปนในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราช รัฎฐาธิปตย คือ พระมหากษัตริย แตในปจจุบันเราปกครองในระบอบประชาธิปไตย รัฎฐาธิปตย คือ ประชาชนซึ่งแสดงออก ถึงอํานาจของตน โดยผานทางรัฐสภา ดังนั้น จึงถือวา รัฎฐาธิปตยเปนที่มาของกฎหมายใน ฐานะเปนผูบริหาร และปกครองประเทศใหอยูในความสงบ
2) จารีตประเพณี เปนแบบแผนที่ชุมชนยอมรับนับถือปฏิบัติกันมาชานาน เปรียบเสมือนเปนกฎหมาย กลาวคือ เมื่อชนรุนแรกปฏิบัติกันมาอยางไร ชนรุนหลังก็ ปฏิบัติตามกันมาเรื่อยๆ เมื่อนานวันเขา ประชาชนทั้งหลายในชุมชนตางก็ยอมรับนับถือกัน มาก รัฐเองก็เห็นถึงความสําคัญของประเพณีที่สืบทอดกันมาหลายชั่วคน และหากรัฐจะวาง
 

























































































   10   11   12   13   14