Page 14 - Microsoft Word - บทที่ 2.doc
P. 14

-16-
คนควา วิจัย หรือศึกษาถึงกระบวนการทางกฎหมาย นักนิติศาสตรเหลานี้ไดแสดงออกซึ่ง ขอคิดเห็น หรือขอโตแยงอันมีตอตัวบทกฎหมาย คําวินิจฉัย หรือคําพิพากษาของศาล ความ คิดเห็นบางเรื่องก็เปนที่ยอมรับกันอยางกวางขวาง จนในที่สุดรัฐยอมรับที่จะนําความ คิดเห็นน้ันมาบัญญัติ หรือแกไขกฎหมาย ดังตัวอยางของประเทศไทย ตามหลักฐานที่ ปรากฏคือ เมื่อครั้งประกาศใชกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 เรื่อง การถืออาวุธในถนน หลวง ซึ่งไมมีขอบัญญัติใหลงโทษ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระบิดาแหงกฎหมายไทย ไดทรงเขียนความเห็น และคําอธิบายเรื่องอาวุธในถนนหลวงไววา ควรมีขอบัญญัติหาม ตอมา รัฐไดประกาศเพิ่มเติมกฎหมายลักษณะอาญาดังกลาวเปนไปตามที่ไดทรงทํา ความเห็นไว จนกระทั่งในปจจุบัน ก็ยังคงเปนขอหามที่ปรากฏอยูในประมวลกฎหมาย อาญา มาตรา 371 ดังน้ี จึงเปนเครื่องช้ีใหเห็นวา ความคิดเห็นของนักปราชญกฎหมายก็ เปนที่มาของกฎหมายไดเชนกัน
6) คําพิพากษาของศาล ประเทศอังกฤษ เปนแมแบบของระบบกฎหมายที่ไม เปนลายลักษณอักษร กลาวคือ ไมมีตัวบทกฎหมายเปนหลัก เมื่อศาลไดนําเอาจารีต ประเพณีมาเปนหลักในการตัดสินคดีแลว ผลของคําพิพากษาที่ศาลไดพิพากษาไปแลว จึง เปนหลักที่ศาลควรจะตองยึดถือในคดีตอๆ ไป หากคดีที่เกิดขึ้นภายหลังมีขอเท็จจริงอัน เปนสาระสําคัญเหมือนคดีที่เคยไดตัดสินไปแลว ศาลยอมนําคําพิพากษาในคดีกอนมา ตัดสินคดีหลังใหผลคดีเปนเชนเดียวกัน ดังนั้น คําพิพากษาที่ศาลไดพิจารณาไปแลวจึง กลายเปนหลักกฎหมายที่จะพึงมีในขณะนั้น แตเนื่องดวยระยะเวลาผานมายาวนาน คํา พิพากษาที่มีมาแลวมีเปนจํานวนมาก จึงกลายเปนที่มาประการสําคัญของระบบกฎหมายใน ระยะตอมา อยางไรก็ตาม แมวาศาลในระบบกฎหมายลายลักษณอักษร จะไมยึดถือหลัก บรรทัดฐานคําพิพากษาของศาล แตศาลก็มักจะพิจารณาถึงผล หรือคํานึงถึงผลของคํา พิพากษาเชนกัน
จะเห็นวา กฎหมายของประเทศอังกฤษไดใหความสําคัญแกคําพิพากษา ของศาลมากกวาประเทศอื่นๆ ท่ีถือเพียงวามีผลผูกพันเฉพาะคูความเทานั้น ตามกฎหมาย ของอังกฤษ ถือเปนหลักเกณฑวา คําพิพากษาของศาลสูงเปนกฎหมายที่ยึดถือกันตลอดมา อยางไรก็ตาม คําพิพากษาของศาลตามกฎหมายอังกฤษ เปนที่มาของกฎหมายไดทั้ง 2 ทาง คือ นอกจากคําพิพากษาไดยึดเปนบรรทัดฐานของกฎหมายในลักษณะของกฎหมายจารีต ประเพณีโดยตรงแลว ยังอาจเปนมูลเหตุใหฝายนิติบัญญัติตองออกกฎหมายเพื่อแกไข ขอบกพรองของกฎหมายนั้นอีกดวย































































































   12   13   14   15   16