Page 18 - Microsoft Word - บทที่ 2.doc
P. 18

2.5 ประเภทของกฎหมาย11
-20-
ในการศึกษาวิชากฎหมาย หากศึกษารวมๆ กันไปเปนเรื่องเดียว ยอมไม สามารถจะรูวัตถุประสงค ประโยชน และเขาใจในหลักการของกฎหมายได เนื่องจาก กฎหมายเปนเรื่องที่กวางขวางมาก ดังนั้น ผูศึกษาจึงควรจะไดรับทราบในเรื่องประเภทของ กฎหมายเสียกอน เพื่อใหรูถึงขอบเขตของการบัญญัติกฎหมาย การใชบังคับ และการ ตีความกฎหมาย
การแบงประเภทของกฎหมายออกเปนประเภทตางๆ นี้ นิยมทํากันในประเทศ ที่ใชระบบกฎหมายลายลักษณอักษร สําหรับประเทศที่ใชระบบกฎหมายไมเปนลายลักษณ อักษรนั้น จะไมนิยมแบงแยกประเภทของกฎหมาย
หลักเกณฑที่ใชในการแบงแยกประเภทของกฎหมายที่สําคัญ และนิยมใชกัน มาก มีอยู 2 วิธีดวยกัน คือ
1. การแบงแยกประเภทของกฎหมายไปตามลักษณะการใช
การแบงแยกประเภทของกฎหมายตามลักษณะแหงการใชนี้ เปนการแบง โดยคํานึงถึงบทบาทของกฎหมายเปนหลัก ซึ่งบรรดากฎหมายที่ใชบังคับอยูทั้งมวล อาจ แบงแยกตามบทบาทหรือการใชไดเปน 2 ประเภท คือ
ก. กฎหมายสารบัญญัติ (Substantive Law) คือ กฎหมายท่ีบัญญัติถึงสิทธิ และหนาที่ของบุคคลทั้งในทางอาญาและทางแพง กฎหมายโดยทั่วไปสวนมากจะเปน กฎหมายในรูปกฎหมายสารบัญญัติ ซึ่งกลาวถึงการกระทําที่กฎหมายกําหนดเปน องคประกอบแหงความผิด ในทางอาญาไดแก ประมวลกฎหมายอาญา และพระราชบัญญัติ ตางๆ ที่บัญญัติความผิดทางอาญาและกําหนดโทษทางอาญาไว ในทางแพง ไดแก ประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย ตลอดจนกฎหมายอื่นๆ ที่บัญญัติถึงสิทธิของบุคคลในทางแพง ตัวอยางเชน
ในทางอาญา มาตรา 288 บัญญัติวา “ผูใดฆาผูอื่นตองระวางโทษประหาร ชีวิต จําคุกตลอดชีวิต จําคุกตั้งแตสิบหาปถึงยี่สิบป”
ในทางแพง มาตรา 420 บัญญัติวา “ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอทําตอ บุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย ใหเขาเสียหายถึงชีวิตก็ดี แกรางกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี
11 พรชัยเลื่อนฉวี.(2544).เอกสารประกอบการสอนวิชาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย พิมพครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย. หนา 33-49.
  























































































   16   17   18   19   20