Page 30 - Microsoft Word - บทที่ 2.doc
P. 30

-32-
ความผิดอาญาแผนดินกับความผิดอันยอมความได (ความผิดตอสวนตัว)
ความผิดทางอาญานั้นสวนใหญไมอาจยอมความได แตความผิดอาญาใดจะ เปนความผิดอันยอมความไดนั้นจะระบุไวโดยเฉพาะ เชน ความผิดฐานหมิ่นประมาท ความผิดฐานฉอโกง เปนตน กฎหมายจะระบุวาเปนความผิดอันยอมความได ดังนั้น ความผิดอาญานอกจากที่ระบุไวใหเปนความผิดอันยอมความไดเปนความผิดอาญาแผนดิน
การยอมความในคดีอาญา กับการประนีประนอมยอมความตามประมวล กฎหมายแพงและพาณิชยจะไมเหมือนกัน เพราะการประนีประนอมยอมความเปนเรื่องหนี้ แตการยอมความเปนเรื่องการระงับคดีอาญา และเกี่ยวของกับอํานาจชี้ขาดของศาล (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 35)
ความผิดอันยอมความไดมีเงื่อนไขการดําเนินคดีเขมงวดกวาความผิดอาญา แผนดิน เปนตนวา การดําเนินคดีในความผิดอาญาอันยอมความไดนั้น เจาพนักงานจะ ดําเนินการไดตอเมื่อไดมีการรองทุกขโดยผูเสียหายกอน (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา มาตรา 121) และหากผูเสียหายถอนคํารองทุกข คดีก็จะเปนอันระงับทันทีไมวา กําลังจะอยูในข้ันใด (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 39) นอกจากน้ี คดี ความผิดอาญาอันยอมความไดนั้น จะตองมีการรองทุกขภายใน 3 เดือน มิฉะนั้น คดีเปนอัน ขาดอายุความฟองรอง (ประมวลกฎหมาย.อาญา มาตรา 96) แตความผิดอาญาแผนดินไมอยู ในหลักเกณฑดังกลาว
กฎหมายวาดวยธรรมนูญศาลยุติธรรม (Law of Constitution of Court of Justice)
กฎหมายวาดวยธรรมนูญศาลยุติธรรม เปนกฎหมายที่วาดวยการจัดตั้งศาล และ อํานาจในการพิจารณาคดี คําพิพากษาของศาล และผูพิพากษา กลาวคือ บทบัญญัติอง กฎหมายวาดวยธรรมนูญศาลใหแยกงานของกระทรวงยุติธรรม ออกเปนงานธุรการ และ งานตุลาการ งานธุรการของศาลกําหนดใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรมเปน ผูรับผิดชอบ สวนงานตุลาการนั้น มีประธานศาลฎีกาเปนประมุขของฝายตุลาการ ซึ่ง อํานาจในการดําเนินการพิจารณาคดี รวมตลอดถึงการที่จะมีคําสั่งหรือคําพิพากษาบังคับคดี ใหเสร็จเด็ดขาด ใหอยูในดุลยพินิจของศาลโดยเฉพาะ
ศาลยุติธรรม แบงออกเปน 3 ชั้น 1. ศาลชั้นตน
2. ศาลอุทธรณ
3. ศาลฎีกา (ศาลสูงสุด)
  
























































































   28   29   30   31   32