Page 29 - Microsoft Word - บทที่ 2.doc
P. 29

-31-
4 . กฎหมายอาญาตองตีความโดยเครงครัด ถาไมมีกฎหมายยอมไมมี ความผิดและไมมีโทษ เพราะกฎหมายอาญามีโทษรุนแรง
แตกฎหมายแพง หลักเรื่องตีความโดยเครงครัดไมมี กฎหมายแพงตอง ตีความตามตัวอักษร หรือตามเจตนารมณของบทบัญญัติแหงกฎหมายนั้นๆ ดังนั้น การที่จะ เปนความผิดทางแพงนั้น ศาลอาจตีความขยายได
5. ความรับผิดทางอาญานั้น โทษท่จี ะลงแกผูกระทําผิดถึงโทษประหารชีวิต จําคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพยสิน
สวนทางกฎหมายแพงนั้นไมมีโทษ เปนเพียงถูกบังคับใหชําระหนี้หรือ ชดใชคาสินไหมทดแทน
6. ความผิดทางอาญาสวนใหญไมอาจยอมความได เวนแตความผิดตอ สวนตัว หรือที่กฎหมายอาญาบัญญัติไว ความผิดอันยอมความได เชน ความผิดฐานหมิ่น ประมาท ความผิดฐานยักยอก เปนตน เหตุผลก็คือ ความผิดทางอาญาถือวาทําความเสียหาย ใหแกมหาชน ทําลายความสงบสุขของบานเมือง ผูเสียหายจึงไมอาจยกเวนความรับผิดให ได
สวนความผิดทางแพง ผูเสียหายอาจยกเวนความรับผิดใหได โดยไมนํา คดีขึ้นฟองรองตอศาล หรือเรียกรองหนี้สินแตอยางใดเลย
7. ความผิดในทางอาญา บุคคลที่รวมกระทําผิดอาจมีความรับผิดมากนอย ตางกันตามลักษณะของการเขารวม เชน ถาเปนผูลงมือกระทําผิดก็ถือเปนตัวการ ถาเพียงยุ ยงหรือชวยเหลือก็อาจผิดเพียงฐานะผูสนับสนุน
สวนความผิดทางแพง ผูที่รวมกันกอหนี้รวมกันทําผิดสัญญาหรือรวมกัน ทําละเมิด จะตองรวมกันรับผิดตอเจาหนี้หรือผูไดรับความเสียหายเหมือนกันหมด
8. ความรับผิดทางอาญา การลงโทษผูกระทําผิดก็เพื่อที่จะบําบัดความ เสียหายที่เกิดขึ้นแกชุมชนเปนสวนรวม เพื่อใหผูกระทําผิดเกิดความหลาบจําและกลับตัว กลับใจเปนคนดี อีกทั้งเพื่อปองกันผูอื่นมิใหเอาเยี่ยงอยาง
สวนความรับผิดทางแพง กฎหมายมีวัตถุประสงคที่จะบําบัดความ เสียหายที่เกิดขึ้นแกเอกชนคนหนึ่งคนใดโดยเฉพาะ ซึ่งอาจไดรับความเสียหายแกชีวิต รางกาย จิตใจ เสรีภาพ ชื่อเสียง ทรัพยสิน ความเสียหายไดเกิดขึ้นอยางใด กฎหมายก็ ตองการที่จะใหเขาไดรับการชดใชในความเสียหายอยางนั้น ถาทําใหคืนสภาพเดิมไมไดก็ พยายามจะใหใกลเคียงมากที่สุด
























































































   27   28   29   30   31