Page 27 - Microsoft Word - บทที่ 2.doc
P. 27

-29-
ฉะนั้น กฎหมายอาญาจึงตองประกอบไปดวยสวนที่บัญญัติถึงความผิด และ สวนที่บัญญัติถึงโทษดวย สวนโทษอาญาที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายอาญา ไดแก
(1) ประหารชีวิต (2) จําคุก
(3) กักขัง
(4) ปรับ
(5) ริบทรัพยสิน
นอกจากที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายอาญาแลว ยังมีพระราชบัญญัติอื่น ที่กําหนดความผิดเฉพาะเรื่อง และไดกําหนดโทษไวดวย เชน พระราชบัญญัติยาเสพติดให โทษ พระราชบัญญัติอาวุธปนเครื่องปน และวัตถุระเบิด พระราชบัญญัติการพนัน พระราชบัญญัติจราจรทางบก พระราชบัญญัติศุลกากร เปนตน พระราชบัญญัติพิเศษที่ระบุ ความผิดอาญา และกําหนดโทษไวดวยเหลานี้ รวมเรียกวากฎหมายอาญาทั้งสิ้น
หลักเกณฑสําคัญของกฎหมายอาญา มีดังนี้
1. จะไมมีความผิดโดยไมมีกฎหมาย หมายความวา กฎหมายอาญาจะใช บังคับไดเฉพาะการกระทําซึ่งกฎหมายที่ใชอยูในขณะนั้นถือวาเปนความผิด ถากฎหมายที่ ใชอยูในขณะกระทําไมถือวาเปนความผิดแลว จะถือวาการกระทํานั้นเปนความผิดไมได และจะลงโทษกันไมได หลักเรื่องกฎหมายอาญาไมมีผลยอนหลัง กฎหมายไมใหยอนหลัง ก็เฉพาะที่จะเปนผลรายแกผูกระทําความผิดเทานั้น เชน การกระทําความผิดใดที่ลวงเลย การลงโทษ หรือลวงเลยอายุความฟองรอง แมจะไดมีกฎหมายใหมบัญญัติกําหนดอายุ ความมากขึ้นกวาเดิม ก็จะเอาตัวผูกระทําความผิดมาฟองรองลงโทษไมได แตหากกฎหมาย ใหมเปนคุณแกผูกระทําความผิดมากกวากฎหมายเกา เชนนี้ กฎหมายก็ใหมีผลยอนหลังได เชน ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 3 บัญญัติวา “ถากฎหมายที่ใชในขณะกระทําความผิด แตกตางกับกฎหมายที่ใชในภายหลังการกระทําความผิด ใหใชกฎหมายในสวนที่เปนคุณ แกผูกระทําความผิดไมวาทางใด...”
2. จะไมมีโทษโดยไมมีกฎหมาย คือ บุคคลจะตองรับโทษตอเมื่อมีกฎหมาย ที่ใชอยูในขณะกระทําบัญญัติใหตองรับโทษนั้นๆ เชน การกระทําความผิดที่มีแตโทษปรับ ศาลก็ลงโทษไดแตโทษปรับ ศาลจะลงโทษจําคุกซึ่งไมใชโทษที่กฎหมายบัญญัติไวไมได
3. จะตองตีความกฎหมายอาญาโดยเครงครัด กลาวคือ กรณีที่ถอยคําของ กฎหมายเปนที่นาสงสัย จะตีความโดยขยายความไปลงโทษหรือเพิ่มโทษผูตองหาไมได แตอาจตีความโดยขยายความใหเปนผลดีแกผูตองหาได ฉะนั้น หลักเกณฑของกฎหมาย
























































































   25   26   27   28   29