Page 26 - Microsoft Word - บทที่ 2.doc
P. 26

-28-
โดยสรุปแลว หลักการรวมอํานาจหรือกระจายอํานาจปกครองแบบใดแบบ หนึ่ง ยอมมีทั้งขอดีและขอเสีย ดังนั้น การจัดระเบียบราชการบริหารของประเทศตางๆ โดยมากใชหลักการรวมอํานาจปกครองและหลักการกระจายอํานาจปกครองประกอบกัน เพราะหลักทั้งสองประการนี้อาจผสมผสานกันได โดยนําขอดีของหลักหนึ่งมาแกขอเสีย ของอีกหลักหน่ึงนั่นเอง สําหรับประเทศไทยในปจจุบัน ก็ไดนําหลักการรวมอํานาจและ กระจายอํานาจปกครองมาใชในการจัดระเบียบราชการบริหารของเรา โดยมี พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 เปนหลักในการวางระเบียบการ ปกครองประเทศ
นอกจากนี้ กฎหมายปกครองยังมีสาระสําคัญอีกสวนหนึ่งเกี่ยวกับการ บริการสาธารณะ และการจัดระเบียบวธิ ีดําเนินการบริการสาธารณะอีกดวย
กฎหมายอาญา (Criminal Law)
เปนกฎหมายที่กําหนดเรื่องความผิดและบทลงโทษไวสําหรับความผิดนั้นๆ เพราะรัฐมีหนาที่รักษาความสงบเรียบรอยของบานเมือง กฎหมายอาญาจึงกําหนด ความสัมพันธระหวางรัฐกับราษฎร ซึ่งกระทําความผิดขึ้น
กฎหมายอาญาของไทยเราบัญญัติไวในรูปประมวลกฎหมาย ซึ่งกอนหนานั้นมี กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 ตอมา สถานการณบานเมืองมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก จึง ประกาศใชประมวลกฎหมายอาญาฉบับใหม เปนการปรับปรุงกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 ใหเหมาะสม โดยการประกาศใชเมื่อ พ.ศ. 2500 และไดใชมาจนกระทั่งปจจุบันนี้
กฎหมายอาญามีลักษณะที่สําคัญ 2 สวน คือ
1. สวนที่บัญญัติถึงความผิด หมายความวา ไดบัญญัติถึงการกระทํา และการ งดเวนกระทําการอยางใด เปนความผิดอาญา
2. สวนที่บัญญัติถึงโทษ หมายความวา บทบัญญัตินั้นๆ นอกจากจะไดระบุวา การกระทําหรืองดเวนการกระทําอยางใดเปนความผิดแลว ตองกําหนดโทษอาญาสําหรับ ความผิดนั้นๆ ไวดวย
ตัวอยาง ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 288 บัญญัติวา “ผูใดฆาผูอื่นตอง ระวางโทษประหารชีวิต จําคุกตลอดชีวิต หรือ จําคุกตั้งแตสิบหาถึงยี่สิบป”
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 358 บัญญัติวา “ผูใดทําใหเสียหาย ทําลาย ทําใหเสื่อมคา หรือทําใหไรประโยชนซึ่งทรัพยของผูอื่น หรือผูอื่นเปนเจาของรวมอยูดวย ผู นั้นกระทําความผิดฐานทําใหเสียทรัพย ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 3 ป หรือปรับไมเกิน หกพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ”
 























































































   24   25   26   27   28