Page 40 - Microsoft Word - บทที่ 2.doc
P. 40
-42-
พ.ศ. 2499” เปนตน กฎหมายที่ใชชื่อวา “ประมวลกฎหมาย” หรือ “ประมวล” ในปจจุบันมี 7 ฉบับ คือ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลรัษฎากร ประมวลกฎหมายที่ดิน ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญา และประมวลกฎหมายทหาร
2. บทกฎหมายที่ออกโดยฝายบริหาร
ฝายบริหารมีอํานาจออกบทบัญญัติแหงกฎหมายบางชนิดไดตามรัฐธรรมนูญ หรือพระราชบัญญัติไดใหอํานาจไว บทบัญญัติที่ออกโดยฝายบริหารนี้ ตามปกติมีฐานะต่ํา กวาบทบัญญัติที่ออกโดยฝายนิติบัญญัติ และตองอยูภายในขอบเขตอํานาจที่ฝายนิติบัญญัติ ไดมอบหมายมาอยางเครงครัด มิฉะน้ัน จะเปนการนอกเหนืออํานาจ ดังนั้น กฎหมายท่ีออก โดยฝายบริหารจึงเปนเพียงอุปกรณหรือลูกบทของกฎหมายที่ออกโดยฝายนิติบัญญัติ เวน แตในกรณีพิเศษ เชน พระราชกําหนด ซึ่งมีผลบังคับเทากับพระราชบัญญัติ
บทบัญญัติท่ีออกโดยฝายบริหาร คือ พระราชกําหนด พระราชกฤษฎีกา และ ประกาศพระบรมราชโองการ
1. พระราชกําหนด รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได ใหอํานาจแกฝายบริหารที่จะตราพระราชกําหนดออกมาใชบังคับไดในกรณีจําเปน ซึ่ง บางครั้งก็เปนผลดี คือ เปนการเปดโอกาสใหฝายบริหารแกไขปญหาอยางรีบดวนไดใน กรณีมีความจําเปน แตในบางครั้งก็มีผลเสียเชนกัน กลาวคือ เปนการเปดโอกาสใหฝาย บริหารไปกาวกายงานซึ่งเปนหนาที่ของฝายนิติบัญญัติได เนื่องจากในการตัดสินใจวา สถานการณใดเปนกรณีฉุกเฉินและจําเปนตองตราพระราชกําหนด ยอมเปนอํานาจของฝาย บริหาร ในบางคร้ัง ฝายนิติบัญญัติก็มีความเห็นวาฝายบริหารไมจําเปนท่ีจะตองตราพระ ราชกําหนด แตฝายบริหารก็ไดตราออกมาใชบังคับ ดังนั้น โดยหลักการแลว ฝายบริหารจะ ใชอํานาจในการตราพระราชกําหนดไดนั้น จะตองอาศัยหรือปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ รัฐธรรมนูญไดใหอํานาจไวอยางเครงครัด
พระราชกําหนดมี 2 ประเภท คือ พระราชกําหนดทั่วไป และพระราช กําหนดเกี่ยวกับภาษีอากรหรือเงินตรา
ก. พระราชกําหนดทั่วไป
การตราพระราชกําหนดชนิดนี้ ฝายบริหารในฐานะรัฐบาล จะตราขึ้นได
จะตองอาศัยหลักเกณฑและเงื่อนไขตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 184 บัญญัติไว ดังนี้