Page 51 - หลักสูตรวิชาป้องกันทุจริต
P. 51
(๑) ใช้หรือแสดงตำ�แหน่งหน้�ที่ให้ปร�กฏในก�รดำ�เนินก�รเรี่ยไรไม่ว่�จะเป็นก�รโฆษณ�
ด้วยสิ่งพิมพ์ต�มกฎหม�ยว่�ด้วยก�รพิมพ์หรือสื่ออย่�งอื่น หรือด้วยวิธีก�รอื่นใด
้
้
้
้
ำ
้
่
(๒) ใช สั่ง ขอรอง หรือบังคับใหผูใตบังคับบัญช� หรือบุคคลใดชวยท�ก�รเรี่ยไรให หรือ
้
กระท�ในลักษณะที่ท�ให้ผู้ใต้บังคับบัญช�หรือบุคคลอื่นนั้นต้องตกอยู่ในภ�วะจ�ยอมไม่ส�ม�รถปฏิเสธ
ำ
ำ
ำ
หรือหลีกเลี่ยงที่จะไม่ช่วยทำ�ก�รเรี่ยไรให้ได้ ไม่ว่�โดยท�งตรงหรือท�งอ้อม
๔. วิธีคิดแบบฐาน ๑๐ (Analog thinking)/ฐาน ๒ (Digital thinking)
แนวท�งก�รแก้ปัญห�ก�รทุจริตอย่�งยั่งยืน ต้องเริ่มต้นแก้ไขที่ตัวบุคคล โดยก�รปรับเปลี่ยน
ระบบก�รคิดของคนในสังคมแยกแยะให้ได้ว่�…
“เรื่องใดเป็นประโยชน์ส่วนตน...เรื่องใดเป็นประโยชน์ส่วนรวม”
ำ
ต้องแยกออกจ�กกันให้ได้อย่�งเด็ดข�ด ไม่น�ม�ปะปนกัน ไม่เอ�ประโยชน์ส่วนรวมม�เป็น
ประโยชน์ส่วนตน ไม่เอ�ผลประโยชน์ส่วนรวมม�ทดแทนบุญคุณส่วนตน ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน
และพวกพ้องเหนือกว่�ประโยชน์ส่วนรวม กรณีเกิดผลประโยชน์ขัดกันต้องยึดประโยชน์ส่วนรวมเหนือ
กว่�ประโยชน์ส่วนตน
ำ
ำ
โดยเฉพ�ะอย่�งยิ่งในกลุ่ม “เจ้�หน้�ที่ของรัฐ” ซึ่งมีอ�น�จหน้�ที่ที่จะต้องกระท�ก�รหรือใช้
ดุลพินิจในก�รตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของส่วนรวม ห�กปล่อยให้มีผลประโยชน์ส่วนตน
หรือคว�มสัมพันธ์ส่วนตนเข้�ม�มีส่วนในก�รตัดสินใจแล้ว ย่อมต้องเกิดก�รขัดกันระหว่�งประโยชน์
ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมหรือผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflict of interests) ขึ้นแน่นอน และ
คว�มเสียห�ยก็จะตกอยู่กับประช�ชนและประเทศช�ตินั่นเอง
44 ชุดหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti - Corruption Education)