Page 6 - คู่มือความรู้เข้าใจในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเล่ม 1
P. 6

ื
          คิดเป็นเร่องสาคัญ หรือความสามารถในการแยกแยะระหว่างประโยชน์
                     �
          ส่วนบุคคลออกจากประโยชน์ส่วนรวม เป็นสิ่งจ�าเป็นที่จะต้องเกิดขึ้นกับทุกคนใน
          สังคม ต้องมีความตระหนักได้ว่าการกระท�าใดเป็นการล่วงล�้าสาธารณประโยชน์
                  �
                                    ี
          การกระทาใดเป็นการกระทาท่อาจเกิดการทับซ้อนระหว่างผลประโยชน์
                                  �
          ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม ต้องคานึงถึงประโยชน์ของประเทศชาต  ิ
                                            �
          เป็นอันดับแรกก่อนที่จะค�านึงถึงผลประโยชน์ส่วนบุคคลหรือพวกพ้อง
                                                        ่
                    ุ
                                                                     ี
               การทจริตในสงคมไทยระหว่างช่วงกว่าทศวรรษทผ่านมาส่งผลเสยต่อ
                           ั
                                                        ี
          ประเทศอย่างมหาศาลและเป็นอุปสรรคส�าคัญต่อการพัฒนาประเทศในทุกมิติ
                                 ี
                                                                 ิ
          รูปแบบการทุจริตจากเดิมท่เป็นการทุจริตทางตรงไม่ซับซ้อน อาท การรับ
          สินบน การจัดซื้อจัดจ้าง ในปัจจุบันได้ปรับเปลี่ยนเป็นการทุจริตที่ซับซ้อนมากขึ้น
                                     �
                                                                  �
          ตัวอย่างเช่น การทุจริตโดยการทาลายระบบการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ
                  �
          การกระทาท่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์หรือผลประโยชน์ทับซ้อน และ
                    ี
          การทุจริตเชิงนโยบาย
               ประเทศไทยมีความพยายามแก้ไขปัญหาการทุจริตโดยหน่วยงาน
           ี
                                  ื
                                                                �
                                                  �
          ท่เก่ยวข้องได้ร่วมกันสร้างเคร่องมือกลไก และกาหนดเป้าหมายสาหรับการ
             ี
          ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต  เร่มต้งแต่ช่วงปี
                                                            ิ
                                                               ั
          พ.ศ. 2551 จนถึงปัจจุบันการด�าเนินงานได้สร้างความตื่นตัวและเข้ามามีส่วน
          ร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตตามบทบาทของแต่ละหน่วยงาน
                   �
          จึงมีความจาเป็นอย่างย่งท่จะต้องปรับฐานความคิดและสร้างความตระหนักรู้
                               ี
                             ิ
          ให้ทุกภาคส่วนของสังคม
                �
               สาหรับประเทศไทยได้กาหนดทิศทางการป้องกันและปราบปรามการ
                                   �
                ึ
          ทุจริตซ่งมีความสอดคล้องกับสถานการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
          วัฒนธรรม และความรุนแรง รวมถึงการสร้างความตระหนักในการประพฤต   ิ
                                                        ้
                                                          �
                                                        ี
                            ื
                                                      ั
          ปฏิบัติตนด้วยความซ่อสัตย์สุจริตของคนในสังคม ท้งน สานักงาน ป.ป.ช.
                                                                     ุ
                                                                       ิ
                         ั
                                   �
                                       ิ
          ในฐานะองค์กรหลกด้านการดาเนนงานป้องกนและปราบปรามการทจรต
                                                 ั
         6
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11