Page 7 - คู่มือความรู้เข้าใจในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเล่ม 1
P. 7
�
ั
รวมท้งบูรณาการการทางานด้านการต่อต้านการทุจริตเข้ากับทุกภาคส่วน
�
ั
่
้
ั
ั
ื
�
ั
่
ี
ิ
ี
ดงนน สาระสาคญทมความเชอมโยงสาหรบทศทางการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริต มีดังนี้
1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
่
ี
ิ
ิ
ั
2. วาระการปฏรูปท 1 การป้องกนและปราบปรามการทุจรตและ
ประพฤติมิชอบของสภาปฏิรูปแห่งชาติ
3. ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579)
4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 -
2564)
5. โมเดลประเทศไทยสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน (Thailand 4.0)
6. ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564)
ั
รฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกรไทย พทธศกราช 2560 กาหนดใน
ั
ั
ุ
�
หมวดที่ 4 หน้าที่ของประชาชนชาวไทยว่า “...บุคคลมีหน้าที่ ไม่ร่วมมือหรือ
ั
สนับสนุนการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ” ถือได้ว่าเป็นคร้งแรกท ี ่
ี
รัฐธรรมนูญได้กาหนดให้การป้องกันและปราบปรามการทุจริตเป็นหน้าท่ของ
�
ประชาชนชาวไทยทุกคน นอกจากนี้ ยังก�าหนดชัดเจนในหมวดที่ 5 หน้าที่ของ
รัฐว่า “รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายที่เกิด
จากการทุจริตและประพฤติมิชอบท้งภาครัฐและภาคเอกชน และจัดให้ม ี
ั
ี
ื
มาตรการและกลไกท่มีประสิทธิภาพ เพ่อป้องกันและขจัดการทุจริต และ
ประพฤติมิชอบดังกล่าวอย่างเข้มงวด รวมทั้งกลไกในการส่งเสริมให้ประชาชน
ิ
ื
ุ
รวมตัวกัน เพ่อมีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้ความรู้ต่อต้านการทจรต หรือ
ชี้เบาะแส โดยได้รับความคุ้มครองจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ” การบริหาร
ี
ราชการแผ่นดิน รัฐต้องเสริมสร้างให้ประชาชนได้รับบริการท่สะดวกม ี
7