Page 9 - คู่มือความรู้เข้าใจในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเล่ม 1
P. 9
บริบทของสังคมไทย โดยเสนอให้มียุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหา 3 ยุทธศาสตร์
ประกอบด้วย (1) ยุทธศาสตร์การปลูกฝัง “คนไทยไม่โกง” เพื่อปฏิรูปคนให้มี
จิตส�านึก สร้างจิตส�านึกที่ตัวบุคคล รับผิดชอบชั่วดี อะไรควรท�า อะไรไม่ควรท�า
ื
ี
ี
ุ
ิ
่
ั
ั
ั
มองว่าการทจรตเป็นเรองน่าเกยจเป็นการเอาเปรยบสงคมและสงคมไม่ยอมรบ
่
ุ
ื
ิ
ั
ั
ิ
(2) ยทธศาสตร์การป้องกนด้วยการเสรมสร้างสงคมธรรมาภบาล เพอเป็น
ิ
ั
ู
ื
ิ
ุ
ระบบป้องกนการทุจรต เสมอนการสร้างระบบภมต้านทานแก่ทกภาค
ส่วนในสังคม (3) ยุทธศาสตร์การปราบปราม เพ่อปฏิรูประบบและกระบวน
ื
ั
ิ
ุ
การจดการต่อกรณีการทจรตให้มีประสิทธภาพ ให้สามารถเอาตวผู้กระทา
ั
�
ิ
�
�
ี
ความผิดมาลงโทษได้ ซ่งจะทาให้เกิดความเกรงกลัวไม่กล้าท่จะกระทาการ
ึ
ทุจริตขึ้นอีกในอนาคต
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) สภาขับเคลื่อนการ
�
ปฏิรูปประเทศได้กาหนดให้กฎหมายว่าด้วยยุทธศาสตร์ชาติมีผลบังคับภายใน
ปี พ.ศ. 2559 หรือภายในรัฐบาลน และก�าหนดให้หน่วยงานของรัฐทุกหน่วย
้
ี
งานนายุทธศาสตร์ชาต ยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ แผนพัฒนาด้านต่างๆ มาเป็น
ิ
�
�
แผนแม่บทหลักในการกาหนดแผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณ
ยุทธศาสตร์ชาติดังกล่าวเป็นยุทธศาสตร์ท่ยึดวัตถุประสงค์หลักแห่งชาติเป็น
ี
แม่บทหลัก ทิศทางด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต การสร้างความ
โปร่งใสและธรรมาภิบาลในการบริหารราชการแผ่นดินของหน่วยงานภาครัฐ
ทุกหน่วยงานจะถูกก�าหนดจากยุทธศาสตร์ชาติ
ื
ิ
ิ
สภาขับเคล่อนการปฏิรูปแห่งชาต วางกรอบยุทธศาสตร์ชาต ในระยะ
20 ปี โดยมีกรอบวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความม่นคง ม่งค่ง ย่งยืน
ั
ั
ั
ั
เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง” คติพจน์ประจาชาติว่า “ม่นคง ม่งค่ง ย่งยืน” ประกอบด้วย
ั
ั
ั
ั
�
6 ยุทธศาสตร์ คือ
9