Page 75 - BookHISTORYFULL.indb
P. 75
ั
ั
ู
ั
้
ิ
ั
๓) ประกาศแนวปฏิบตเกยวกบการใช้หลกสตรการศึกษาขนพ้นฐาน
ี
่
ื
พุทธศักราช ๒๕๔๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระ
ที่ ๔ ประวัติศาสตร์)
ื
ั
ตามท่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นพ้นฐาน (สพฐ.) ได้ออกแนว
�
ี
ื
ปฏิบัติเพ่อให้สอดคล้องกับนโยบายการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ของกระทรวง
ี
�
ศึกษาธิการ ท่กาหนดให้สถานศึกษาจัดให้ผู้เรียนทุกคนได้เรียนวิชาประวัติศาสตร์เป็น
รายวิชาพ้นฐานสัปดาห์ละ ๑ ช่วโมง ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นพ้นฐาน
ั
ื
ื
ั
พุทธศักราช ๒๕๕๑ แล้วนั้น เนื่องจากในปีการศึกษา ๒๕๕๒-๒๕๕๔ ยังมีสถานศึกษา
ที่ใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ดังนั้นเพื่อให้สถานศึกษาดังกล่าว
มีแนวปฏิบัติท่สอดคล้องกับนโยบายในการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ สพฐ.
ี
�
ื
ั
ี
�
จึงกาหนดแนวปฏิบัติสาหรับสถานศึกษาท่ใช้หลักสูตรการศึกษาข้นพ้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๔๔ ดังนี้
๑. ช่วงชั้นที่ ๑-๓ (ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓) ให้
ื
สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนสาระประวัติศาสตร์เป็นรายวิชาพ้นฐานในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเป็นการเฉพาะ สัปดาห์ละ ๑ ชั่วโมง
ี
ี
ั
๒. ช่วงช้นท่ ๔ (ช้นมัธยมศึกษาปีท่ ๔-๖) ให้สถานศึกษาจัดการเรียน
ั
การสอนสาระประวัติศาสตร์ ดังนี้
ั
ี
ช้นมัธยมศึกษาปีท่ ๔-๖ ให้สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนสาระ
ื
ประวัติศาสตร์เป็นรายวิชาพ้นฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม สัปดาห์ละ ๑ ชั่วโมงจ�านวน ๒ หน่วยกิตภายใน ๓ ปี
ั
ช้นมัธยมศึกษาปีท่ ๕-๖ ให้สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนสาระ
ี
ื
ประวัติศาสตร์เป็นรายวิชาพ้นฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม สัปดาห์ละ ๑ ชั่วโมงทุกภาคเรียน
ี
ิ
่
ั
ี
ี
ึ
ั
ในกรณทสถานศกษาจดให้เรยนสาระประวตศาสตร์ครบทกมาตรฐาน
ุ
ี
�
ั
ั
ื
การเรียนรู้ตามท่กาหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาข้นพ้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ในช้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๔-๕ แล้ว อาจไม่ต้องจัดให้เรียนรายวิชาประวัติศาสตร์ในชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ ๖ อีกก็ได้
ื
เพ่อสร้างความเข้าใจตรงกัน สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษาจึงได้
�
สรุปแนวปฏิบัติเป็นตารางเผยแพร่ให้สถานศึกษาดังนี้
73