Page 80 - BookHISTORYFULL.indb
P. 80

ทั้งนี้ ครูผู้สอนประวัติศาสตร์ต้องเข้าใจด้วยว่า วิชาในกลุ่มสังคมศึกษาก็ล้วนเป็น
                               ั
                                                 ื
                                 ิ
          เรื่องราวของสังคมมนุษย์ท้งส้น เพราะว่าด้วย เร่องของการอยู่ร่วมกันในสังคม เช่น
                                                                           ื
                         ื
          ภูมิศาสตร์ ว่าด้วยเร่องความสัมพันธ์ของมนุษย์กับส่งแวดล้อม  เศรษฐศาสตร์ ว่าด้วยเร่อง
                                                 ิ
          การบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่จ�ากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า หน้าที่พลเมือง
                      ั
                    ิ
                       ิ
                                 ื
                                                           ื
                                                 ิ
                                                                        ิ
                                                                   ี
          ว่าด้วยการปฏบตตนเป็นพลเมองดีของประเทศชาตและเป็นพลเมองโลกทมประสทธภาพ
                                                                          ิ
                                                                  ่
                                                                  ี
          แต่ศาสตร์ในกลุ่มสังคมศึกษาส่วนใหญ่ จะสร้างทฤษฎีหรือหลักการท่ใช้ได้กับสังคมมนุษย์
                                                              ี
          ได้ตลอดไป ท้งอดีต ปัจจุบันและอนาคต เช่น  กฎอุปสงค์-อุปทาน ท่มีอิทธิพลต่อราคาสินค้า
                                                            ี
                    ั
                                                 ั
                                                    ่
                                                                            ิ
                                                    ิ
                               ั
                              ิ
                          ื
                                  ั
          ของเศรษฐศาสตร์หรอปฏสมพนธ์ระหว่างมนษย์กบสงแวดล้อมทางกายภาพก่อให้เกด
                                             ุ
                                                                         ั
                                               �
          การสร้างสรรค์วัฒนธรรมของภูมิศาสตร์ แต่สาหรับประวัติศาสตร์ให้ความสาคญกับ
                                                                       �
                                                                ั
                                                     ิ
                  ี
          “ความเปล่ยนแปลงตามกาละและเทศะ” หรือเวลาและส่งแวดล้อม น่นย่อมหมายถึงว่า
          ในวันเข้าพรรษาของชาวอุบลราชธานี  ย่อมแตกต่างกับชาวกรุงเทพฯ  ท่แม้จะนับถือศาสนา
                                                               ี
          พุทธเหมือนกัน เป็นคนไทยและไปประกอบพิธีกรรมท่วัดเหมือนกันก็ตาม  เรียกว่าเป็น
                                                    ี
          ความแตกต่างที่เกิดจากสิ่งแวดล้อม  (ทั้งสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและสังคม)  ในท�านอง
                                                                      ื
          เดียวกัน  สังคมไทยสมัยอยุธยาย่อมแตกต่างจากสังคมไทยในปัจจุบัน  เพราะเม่อเวลาผ่าน
    78
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85