Page 82 - BookHISTORYFULL.indb
P. 82
ึ
�
ื
เม่อสังคมมนุษย์เกิดข้นมาแล้ว การจะทาความเข้าใจอดีตได้ ก็เพราะมีร่องรอย
กระท�าที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ในอดีต ซึ่งเรียกว่าหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ซึ่งหมายรวม
ี
ั
ี
ี
ื
ิ
ั
เอาทุกอย่างท่เก่ยวข้องกับเร่องท่ศึกษา ท้งส่งท่เกิดข้นตามธรรมชาติ เช่น ช้นดิน ส่งท่มนุษย์
ิ
ี
ี
ึ
สร้างขึ้น เช่น สิ่งก่อสร้าง เครื่องมือ เครื่องใช้ สิ่งที่จงใจสร้างขึ้น เช่น บันทึก ศาสนสถาน
ิ
ี
ี
ี
ภาพวาด รูปภาพ แผนท่และส่งท่ไม่จงใจสร้าง เช่น เปลือกหอยหรือกระดูกสัตว์ ท่หลงเหลือ
ื
่
ี
ุ
ี
ั
ิ
่
จากการเป็นอาหารของมนษย์ เป็นต้น หากเรองราวใดทไม่มหลักฐานทางประวตศาสตร์
ยืนยันเราย่อมไม่ถือว่าเร่องน้นเป็นประวัติศาสตร์ ส่งท่ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ต้องการ
ี
ิ
ั
ื
ึ
ี
ื
ี
ี
หลักฐานคือ “ข้อมูลท่เก่ยวข้องกับเร่องท่ศึกษา” ซ่งนักประวัติศาสตร์บางคนเรียกว่า
้
้
ื
“ขอสนเทศ” หรอ “ขอเทจจรง” อนเปนการยาเตอนวา ขอมลทไดอาจมทงเทจและจรงปะปน
ิ
�
้
ิ
็
ั
็
ั
้
่
ี
ู
้
้
ี
่
ื
็
กันอยู่หรืออาจสอดแทรกทัศนคติ ความคิด ความเชื่อเข้าไปในหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ื
ั
จึงถือเป็นความจาเป็นท่จะตรวจสอบ ประเมินความน่าเช่อถือของข้อมูลน้นเสมอ โดยใช้วิธ ี
�
ี
ื
ี
การศึกษาอย่างเป็นระบบท่เรียกว่า “วิธีการทางประวัติศาสตร์” เพ่อแยกแยะข้อเท็จจริง
จากความคิดเห็น แยกแยะความจริงออกจากข้อเท็จจริง เพื่อจะได้วิเคราะห์ สืบค้น และ
ื
ตีความเร่องราวในอดีตได้อย่างถูกต้อง ด้วยเหตุดังกล่าว ประวัติศาสตร์ จึงหมายถึง
�
การศึกษาเหตุการณ์สาคัญในสังคมมนุษย์ในอดีตตามมิติของเวลาโดยใช้ร่องรอย
หลักฐานทางประวัติศาสตร์และวิธีการทางประวัติศาสตร์สืบค้นอย่างเป็นระบบ
ึ
�
เราอาจสรุปได้ว่า ความหมายทางประวัติศาสตร์ ข้นอยู่กับองค์ประกอบสาคัญ
ได้แก่ สังคมมนุษย์ อดีต หรือมิติของเวลา เหตุการณ์ส�าคัญ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
และวิธีการทางประวัติศาสตร์
ในนัยนี้ ผู้สอนประวัติศาสตร์ต้องเข้าใจด้วยว่า เรื่องราวในประวัติศาสตร์ที่น�ามา
�
ั
ั
�
เป็นบทเรียนสาหรับนักเรียนน้น ไม่ใช่เร่องราวสาคัญท้งหมดของสังคมมนุษย์ในอดีต
ื
ั
ื
ี
ิ
ั
แต่เป็นเร่องราวท่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ปรากฏเท่าน้น ท้งส่งท่เรียนรู้ในปัจจุบัน
ี
ื
ก็อาจเปล่ยนแปลงได้ หากมีการพบข้อสนเทศใหม่ท่เช่อถือได้ หรือมีการตีความใหม่
ี
ี
จากหลักฐานเดิม ซึ่งมีอยู่เสมอ เช่น เดิมนั้นเราเรียนรู้ว่า พระนามของกษัตริย์ผู้สถาปนา
กรุงสุโขทัย คือ พ่อขุนบางกลางท่าว แต่เมื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบใหม่จึงพบว่าพระนาม
ที่ถูกต้อง คือ พ่อขุนบางกลางหาว (เรียกว่า การตีความใหม่จากหลักฐานเดิม) หรือเมือง
อู่ทอง ท่เดิมเช่อกันว่าเป็นเมืองเดิมของพระเจ้าอู่ทองหรือสมเด็จพระรามาธิบดีท่ ๑
ี
ี
ื
ครองอยู่ก่อนสถาปนากรุงศรีอยุธยา แต่เมื่อพบข้อมูลทางโบราณคดี แสดงชัดเจนว่า
เมืองอู่ทองมีอายุก่อนหน้านั้นมากและคงร้างไป เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖ ก่อนหน้าที่
ื
พระเจ้าอู่ทองจะสถาปนากรุงศรีอยุธยาถึง ๒๐๐ - ๓๐๐ ปี สรุปว่าเร่องราวในประวัติศาสตร์
สามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อพบหลักฐานใหม่หรือมีการตีความใหม่ที่น่าเชื่อถือ
80