Page 84 - BookHISTORYFULL.indb
P. 84
ศาสตราจารย์ ดร.แถมสุข นุ่มนนท์ อดีตผู้สอนประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร อธิบายว่า ความหมายของประวัติศาสตร์ไม่มีค�าจ�ากัดความตายตัว
ั
ี
โดยท่วไปประวัติศาสตร์ หมายถึง การไต่สวนเข้าไปให้รู้ถึงความจริงเก่ยวกับพฤติกรรม
ี
ื
ั
ึ
ึ
ของมนุษยชาติท่เกิดข้นในช่วงใดช่วงหน่งของอดีต ฉะน้น ประวัติศาสตร์จึงเป็นเร่อง
ท่เก่ยวข้องกับสังคมมนุษย์ ความเปล่ยนแปลงของสังคม ความคิดท่ก่อให้เกิดพฤติกรรม
ี
ี
ี
ี
ต่างๆ ในสังคม และสภาพเหตุการณ์ท่ส่งเสริมหรือขัดขวางวิวัฒนาการของสังคมหรือ
ี
กล่าวอีกนัยหน่งว่า วิชาประวัติศาสตร์มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมของสังคมมนุษย์ทุกคน
ึ
ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ์ และศาสตราจารย์อาคม พัฒิยะ อดีตผู้สอนประวัติศาสตร์
ื
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้อธิบายว่า “ประวัติศาสตร์ คือ การศึกษาเพ่ออธิบายอดีตของ
สังคมมนุษย์ในมิติของเวลาหรือประวัติศาสตร์ คือ การศึกษาเพ่อเข้าใจอดีตของสังคมมนุษย์
ื
ในมิติของเวลา”
ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร เมธีวิจัยอาวุโสของสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยและ
�
อดีตผู้สอนประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้อธิบายความหมายของประวัติศาสตร์
ไว้ ๓ ลักษณะ สรุป คือ
(๑) ประวัติศาสตร์ คือ เรื่องราว หรือเหตุการณ์เกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ใน
ื
ื
อดีตเพ่อรู้จักความเป็นมาตัวเอง หรือเพ่อรู้จักประสบการณ์ในอดีตท่เช่อมประสานจิต
ี
ื
วิญญาณของคนในสังคมเข้าด้วยกัน
(๒) ประวัติศาสตร์ คือ บันทึกเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ในอดีต ท�าให้เกิด
วิชาที่เรียกว่า ประวัติศาสตร์นิพนธ์ (Historiography)
(๓) ประวัติศาสตร์เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิธีการทางประวัติศาสตร์ หรือการวิเคราะห์
วิจารณ์วิธีการได้มาซึ่งความรู้ทางประวัติศาสตร์
ิ
ี
ั
ี
ท้งน้ ได้อธิบายเพ่มเติมว่า ประวัติศาสตร์ ในฐานะท่เป็นศาสตร์หรือสาขาวิชาการ
หนึ่งนั้น หมายถึง การศึกษาเรื่องราวส�าคัญๆ ที่เชื่อว่าได้เกิดขึ้นจริงเกี่ยวกับประสบการณ์
ด้านต่างๆ ของมนุษย์ในสังคมใดสังคมหนึ่งบนพื้นฐานของการวิพากษ์ วิเคราะห์หลักฐาน
ื
ื
ั
เอกสารช้นต้นและหลักฐานร่วมสมัยอ่นๆ เพ่อเข้าใจปัญหาในสังคมปัจจุบัน จะเห็นว่า นิยาม
หลังน้ มุ่งเน้นไปท่คาว่า การศึกษาหรือวิธีการศึกษาอันเป็นลักษณะเฉพาะของประวัติศาสตร์
ี
�
ี
ในแง่น้ ประวัติศาสตร์มีคุณค่าในทางการศึกษาเพราะเป็นกระบวนการสร้างภูมิปัญญา
ี
(Intellectual process) และวิธีการทางประวัติศาสตร์สามารถพัฒนาศักยภาพของผู้ศึกษา
ให้เป็นนักคิด และปัญญาชนของสังคม
82