Page 89 - BookHISTORYFULL.indb
P. 89
�
แนวทางก้าวสู่อนาคต ผู้สอนประวัติศาสตร์ต้องทาความเข้าใจให้ชัดเจนก่อนว่า แต่ละสังคม
ึ
ี
ย่อมมีพัฒนาการหรือการเปล่ยนแปลงตามกาลเวลา ซ่งเกิดจากปัจจัยแวดล้อมต่างๆ
อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เรียกว่า “บริบทของเวลา” สังคมปัจจุบัน ก็คือ ผลพวงจากอดีต
ั
น่นคือ ข้อเท็จจริงท่เราต้องยอมรับว่า สภาพของสังคมไทยในปัจจุบันไม่ว่าดีหรือเลว สังคม
ี
ี
สมานฉันท์หรือแตกแยก ล้วนเป็นผลผลิตของประสบการณ์ในอดีตท่เราและบรรพบุรุษ
ั
ี
ิ
ของเราได้ก่อไว้ท้งส้น การท่จะเข้าใจปัญหาสังคมไทยให้ชัดเจนได้ ก็ด้วยการศึกษาอดีต
ว่ามีเรื่องใดเกิดขึ้นบ้าง การเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงเวลาเป็นอย่างไร ท�าไมจึงเป็นเช่นนั้น
�
ี
ั
การเปล่ยนแปลงแต่ละคร้ง มีผลอย่างไร การเรียนรู้และทาความเข้าใจเร่องราวหรือ
ื
�
ื
ี
�
ี
เหตุการณ์สาคัญของสังคมมนุษย์ เพ่อเข้าใจปัจจุบันถือเป็นคุณค่าท่สาคัญท่สุดของ
ประวัติศาสตร์
The School of Athens
ขึ้นยุคกรีกแห่งเอเธนส์
ต่อมาเมื่อพวกกรีกที่เอเธนส์ (Athens) เข้มแข็ง BC) อริสโตเติล (Aristotle, 384-322 BC) ซึ่งถือกันว่า กรีกแห่งมาซิโดเนีย (Macedonian Greeks) แต่แล้วถึงปี
ขึ้น พวกกรีกที่ไอโอเนียอาศัยก�าลังจากพวกเอเธนส์ เป็นตรีโยนกมหาบุรุษ (the great trio of ancient 133 BC (นับอย่างเรา=พ.ศ. ๔๑๐) พวกกรีกสิ้นอ�านาจ
ท�าให้กรีกชนะเปอร์เซียไอโอเนียก็เป็นอิสระในปี 479 BC Greeks) ผู้วางรากฐานทางปรัชญาของวัฒนธรรม โยนกกลายเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมัน จน
(นับอย่างเรา=พ.ศ. ๖๔; นับอย่างฝรั่ง=พ.ศ. ๔) แต่ต่อนี้ ตะวันตกและท�าให้เอเธนส์ได้ชื่อว่าเป็นแหล่งก�าเนิดของ กระทั่งจักรวรรดิออตโตมานของมุสลิมเตอร์กมาเข้าครอง
ไป ไอโอเนียต้องขึ้นต่อเอเธนส์ อารยธรรมตะวันตก เป็นท้ายสุดใน ค.ศ. 1458 (พ.ศ. ๒๐๐๑)
แม้แต่ศูนย์กลางทางปัญญาก็ย้ายจากไอโอเนีย ต่อมา โยนก ตกเป็นของเปอร์เซียอีกในปี 387 BC ส่วนในด้านศิลปวิทยา เมื่ออริสโตเติลสิ้นชีวิตลง
ไปอยู่ที่เอเธนส์ ดังที่ต่อนี้ไปที่เอเธนส์ ได้มี โสเครตีส จนกระทั่ง อเลกซานเดอร์มหาราช มาพิชิตจักรวรรดิ ในปี 322 BC (นับอย่างเรา=พ.ศ. ๒๒๑) ยุคคลาสสิกของ
(Socrates, 470?-399 BC) เพลโต (Plato, 427-347 เปอร์เซียลงในราวปี 334 BC ไอโอเนียจึงมาเป็นของ กรีกก็จบลงด้วย
26 ห้ามซอ-ขาย อนญาตใหใชเพือการศกษาส่วนตวเทานน ภาพประกอบสวนใหญมลขสิทธ หากประสงคจะนาไปใช้ตอ ตองติดตอขออนญาตจากเจาของกอน
่
้
้
ี
้
ั
่
่
์
ิ
ุ
ํ
่
ิ
์
่
้
่
ึ
้
้
ื
ุ
ั
่
ภาพ กาลานุกรมหรือ Time Line เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
๑.๒ รู้รากเหง้าความเป็นไทย เข้าใจและภูมิใจในชาติตน เหตุการณ์
ั
ั
�
สาคัญในอดีตของสังคมไทย เร่มต้งแต่การต้งถ่นฐาน การสร้างบ้านเรือน การขยายอาณาเขต
ิ
ิ
เพ่อสร้างความม่นคงและม่งค่ง ซ่งเป็นผลมาจากวีรกรรมและความเสียสละของบรรพบุรุษ
ั
ื
ึ
ั
ั
ึ
ล้วนเป็นความรู้จากประวัติศาสตร์ ซ่งนอกจากจะสร้างความเข้าใจ และรู้จักความเป็นมา
ของชาติแล้ว ยังจะทาให้ผู้เรียนรู้รากเหง้าความเป็นไทยว่า กว่าจะถึงวันน้ได้น้น บรรพบุรุษ
�
ั
ี
ั
ุ
่
ของเราในอดีตได้อตสาหะบากบน พยายามสร้างชาติไทยข้นมาอย่างไร ต้องต่อสู้
ึ
87