Page 88 - BookHISTORYFULL.indb
P. 88

ในฐานะผู้สอนประวัติศาสตร์  คาถามน้ น่าจะท้าทาย “ความเช่อ และความศรัทธา”
                                        �
                                                              ื
                                              ี
                                                                      ี
          ในอาชีพของครูประวัติศาสตร์ ท้าทาย “ความคิดและความสามารถ” ของผู้เป็นครูท่มีบทบาท
                                          ี
                                                                             ึ
              ี
          หน้าท่ในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนไทยท่เห็นคุณค่าของความเป็นไทย  แม้ว่าครูส่วนหน่ง
          ยังคงคลางแคลงใจว่าประวัติศาสตร์ จะสร้างความเป็นชาติไทยได้หรือไฉน
                                             ั
                        �
                 เราต้องทาความเข้าใจก่อนว่าศาสตร์ท้งหลายในโลกนี้ สามารถแบ่งได้ ๒ ประเภท
                                         �
          ประเภทแรก คือ  ศาสตร์ท่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง เช่น ความรู้จาก
                                 ี
          แพทยศาสตร์  ใช้รักษาผู้ป่วย ใช้วิศวกรรมศาสตร์ และสถาปัตยกรรมศาสตร์  ในการสร้าง
                                ี
                             ่
                                                      ่
                                                    ่
                                                              ้
                                                                       ้
                                                                      ์
                                          ึ
                                          ่
                                             ็
                                                    ี
                                                   ์
          บานเรอน  ถนน สะพาน สวนอกประเภทหนงเปนศาสตรทไมสามารถใชประโยชนไดโดยตรง
              ื
           ้
          หรือเป็นประโยชน์อย่างฉับพลัน  แต่เป็นพ้นฐานความรู้ให้กับศาสตร์ประเภทอ่น เช่น
                                                                        ื
                                            ื
          แพทย์ศาสตร์  ต้องอาศัยความรู้จากฟิสิกส์  ชีววิทยา  กายวิภาค  สรีรวิทยา  ฯลฯ
          วิศวกรรมศาสตร์ ก็ต้องใช้ความรู้จากคณิตศาสตร์ ประวัติศาสตร์จัดเป็นศาสตร์ประเภทนี้
                                                      ี
                                                       �
          คือ ไม่สามารถก่อประโยชน์ได้โดยตรง แต่ให้ความรู้ท่จาเป็นและสัมพันธ์เก้อกูลกับ
                                                                       ื
          ศาสตร์อ่น เช่น สื่อสารมวลชนเกือบทุกแขนงต้องรู้จักลักษณะเฉพาะหรือเอกลักษณ์
                ื
          ของแต่ละสังคมมนุษย์ท่ได้พัฒนาจากอดีตถึงปัจจุบันหรือ รัฐศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่าง
                            ี
          ประเทศ   ต้องเข้าใจความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ ความคิด ความเชื่อและระบบการเมือง
          การปกครองของประเทศต่างๆ  นักกฎหมายจาต้องรู้ท่มา และอดีตของการพิพากษาคด ี
                                              �
                                                    ี
                                                              ิ
          ความต่างๆ นกวทยาศาสตร์ กต้องใช้ความร้พนฐานจากการค้นพบวทยาการในอดตของ
                                              ้
                                                                         ี
                                              ื
                                            ู
                                  ็
                       ิ
                    ั
                                 ี
          มนุษยชาติ ซ่งความรู้เหล่าน้ เรียนรู้ได้จากประสบการณ์ของมนุษย์ในอดีต หรือ
                     ึ
          “ประวัติศาสตร์”  นั่นเอง
                 จะเห็นได้ว่า ประวัติศาสตร์ เป็นพ้นฐานสาคัญของการเรียนรู้ศาสตร์ต่างๆ โดยทา �
                                          ื
                                               �
          หน้าที่เชื่อมโยงศาสตร์ทั้งสามสาขา คือ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
                 คุณค่าและประโยชน์ของประวัติศาสตร์สามารถแยะแยะแจกแจงอธิบายได้ตาม
          ความหมายและธรรมชาติของวิชา ดังนี้
                 ๑. ประวัติศาสตร์ในแง่ของเร่องราวหรือเหตุการณ์สาคัญของสังคมมนุษย์ใน
                                                          �
                                        ื
          อดีต ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้หลายประการ ที่ส�าคัญ ได้แก่
                      ๑.๑ ความเข้าใจปัญหาและส่งแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน ประวัติศาสตร์
                                            ิ
          หรือการสืบสวนอดีตของสังคมมนุษย์ ทาให้เราได้รู้ว่า พฤติกรรมและความคิดความเช่อ
                                         �
                                                                            ื
          ของผู้คนในสังคมเกิดขึ้นได้อย่างไร มีการเปลี่ยนแปลงหรือมีพัฒนาการมาอย่างไร  อันจะ
          น�าไปสู่การวิเคราะห์  เพื่อให้เข้าใจปัญหาอย่างมีเหตุมีผล มาตรการในการแก้ปัญหา จึงจะ
          มีประสิทธิภาพ และเหมาะสมมากยิ่งขึ้น  เรียกว่า เป็นการศึกษาอดีตเพื่อเข้าใจปัจจุบันเห็น
    86
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93