Page 90 - BookHISTORYFULL.indb
P. 90
ี
ื
พลีชีพเพ่อปกป้องดินแดนไทยบนแหลมทองท่อุดมสมบูรณ์ไว้ให้เป็นมรดก สืบจนถึง
่
้
ั
้
์
่
้
ปจจุบันนี้ ความรูประวัติศาสตรในแงนี้ยอมสรางความรัก ความเขาใจและภูมิใจในชาติตน
ให้กับผู้เรียน ซึ่งศาสตร์อื่นๆ ย่อมไม่สามารถท�าบทบาทหน้าที่นี้ได้ดีเท่าประวัติศาสตร์
ภาพ อนุสรณ์สถานชาวบ้านบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี
�
๑.๓ บทเรียนในอดีตเห็นข้อบกพร่อง–ความผิดพลาด ความสาเร็จ ความดีงาม
ของบรรพบุรุษ ประวัติศาสตร์ไม่ใช่แต่เพียงอดีตของความส�าเร็จ และความดีงาม ซึ่งย่อม
ื
ู
้
ุ
่
ุ
ั
่
ั
่
่
ี
้
สรางความภมใจในบรรพบรษไทยเทานน แตการเรยนร เรอง ความลมสลายของอาณาจกร
ิ
ู
้
ไทยในอดีต การเสียเอกราช การเสียดินแดน ล้วนเป็นความรู้จาเป็นซ่งได้มาจากการวิเคราะห์
ึ
�
เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ ว่าท�าไม และอย่างไร (Why, How) ซึ่งไม่ใช่การสอน เพียงให้
รู้ว่ามีใคร ได้ท�าอะไร ที่ไหน และเมื่อไร (Who, What, Where, When) อันเป็นแค่ข้อเท็จ
�
จริงเบ้องต้น หรือข้อมูลพ้นฐานเท่าน้น แต่ผู้สอนประวัติศาสตร์จาต้องช้ถึงมูลเหตุ ปัจจัย
ั
ี
ื
ื
ื
ของเหตุการณ์ต่างๆ เพ่อให้ผู้เรียนเข้าใจประวัติศาสตร์ในแง่ท่เป็น “บทเรียนในอดีต” ว่า
ี
ความโลภ ความเห็นแก่ตัว ความอ่อนแอของผู้น�า ความลุ่มหลงในอ�านาจหรือการสะสม
ปัญหาจนยากจะแก้ไข ความขัดแย้งทางอุดมการณ์ทางการเมือง หรือขัดแย้งเร่องผล
ื
ประโยชน์ ความไม่รู้เท่าถึงการณ์และอื่นๆ อีก มากมาย รวมทั้ง ปัจจัยทางธรรมชาติล้วน
ี
ี
�
ิ
ั
ปัจจัยท่มีอิทธิพลต่อเหตุการณ์สาคัญในอดีตได้ท้งส้น และศึกษาเหตุการณ์น้ว่ามีผลโดยตรง
และผลกระทบต่อสังคมอย่างไรบ้าง อันเป็นการหาค�าตอบว่าทาไม (Why) และอย่างไร (How)
�
�
การเรียนรู้ในลักษณะน้ จึงจะทาให้ “อดีต” เป็นบทเรียนส�าหรับการมองเห็นปัญหาใน
ี
ึ
ึ
ี
ปัจจุบันได้ชัดเจนข้น ซ่งจะสามารถนาไปสู่การเป็นบทเรียนท่มีค่าสาหรับใช้เป็นแนวทาง
�
�
88