Page 94 - BookHISTORYFULL.indb
P. 94

ส�าหรับผู้อ่าน  ค�าถามที่น่าจะเริ่มต้นด้วย “อ่านอะไรจึงจะดี”  ผู้สอนจึงควรที่จะ
          แนะน�าให้ผู้อ่านรู้จักสิ่งที่ตนก�าลังจะอ่านให้ดีเสียก่อน  ไม่ใช่ว่ารู้แต่ชื่อเรื่องเท่านั้น  ควรจะ
          รู้ด้วยว่า ใครเป็นผู้บันทึก  หรือเขียนขึ้นผู้เขียนมีประสบการณ์ด้านใด  รู้หรือมีส่วนร่วมกับ

                  ั
                                            ึ
                                     ึ
                           �
          เหตุการณ์น้นอย่างไร ทาไมจึงเขียนข้น  เขียนข้นจากประสบการณ์ตนเอง หรือ “เรียบเรียง”
                                              ั
                                                    ี
          หรือปรับปรุง หรือค้นคว้าจากหนังสืออะไรบ้าง ท้งหมดน้ไม่ใช่การจะตัดสินใจว่าจะอ่านหรือ
          ไม่อ่าน คุ้มค่ากับเวลาที่จะอ่านหรือไม่ เพราะส�าหรับผู้ศึกษาประวัติศาสตร์  การอ่านอย่าง
          กว้างขวาง และหลากหลายจะช่วยให้ “ภาพอดีต”  ชัดเจนขึ้น  แต่ค�าแนะน�าดังกล่าว จะช่วย
          ในการกลั่นกรองว่าอะไร คือ ข้อเท็จจริงที่ควรได้รับความเชื่อถือมากกว่า
                 ค�าถามว่า อ่านอย่างไร จึงจะรู้เรื่องเร็ว  เป็นทักษะที่จะต้องฝึกฝนอย่างสม�่าเสมอ
                                                                      �
                 ื
                                �
          และต่อเน่อง จึงถือเป็นเร่องจาเป็นท่ผู้สอนจะต้องฝึกทักษะให้ผู้เรียนได้อ่าน สาหรับเด็ก
                                      ี
                             ื
                            ิ
                                                      �
                                                           ั
          ประถมศึกษา อาจจะเร่มอ่านเพียงไม่ก่บรรทัดแล้วตอบคาถามส้นๆ แบบตรงไปตรงมา
                                        ี
                 ี
                                                                   ี
          (ในกรณีน้ผู้สอน ต้องฝึกฝนตนเองให้อ่านและเข้าใจประเด็นหลักของเร่องท่อ่านได้ชัดเจน
                                                                ื
          ก่อน) จากน้น จึงเร่มฝึกฝนให้ผู้เรียนแยกแยะอะไร คือ ข้อมูลหรือข้อเท็จจริง  ท่พบในเร่อง
                        ิ
                   ั
                                                                     ี
                                                                           ื
          การอ่าน  แล้วผู้อ่านเชื่อหรือไม่เชื่อด้วยเหตุผลใด  ก่อนจะฝึกฝนการอ่านเพื่อแยกแยะได้ว่า
          อะไรคือข้อมูล อะไรคือข้อเท็จจริง อะไรคือความคิดเห็นส่วนตัว หรืออะไรคือความคิด
          ความเชื่อของผู้เขียนที่สอดแทรกในบันทึกนั้น  ก่อนจะก้าวไปถึงการตีความอย่างมีเหตุผล
          บนพื้นฐานของข้อเท็จจริง  ซึ่งน่าจะเหมาะสมกับเด็กในระดับมัธยมศึกษามากกว่า
                                                      ื
                 อย่างไรก็ตาม จุดประสงค์ของการอ่าน คือ การรู้เร่อง โดยเฉพาะประเด็นหลักของ
                         ี
                          �
           ื
          เร่องว่ามีอะไรบ้าง  ท่สาคัญก็คือ  การอ่านบันทึกเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์  เป็นการศึกษา
          ในรูปแบบหนึ่งมิใช่การอ่านเพื่อพักผ่อนหย่อนใจ  จึงต้องมีการจดช่วยจ�า  เช่น จดข้อมูล
                                      �
                                                                         ี
          ในลักษณะเส้นเวลา time line  (เรียงลาดับเหตุการณ์ตามวัน เวลา)  หรือสรุปสาเหตุท่ทาให้
                                                                           �
          เกิดเหตุการณ์  โดยบันทึกที่มาของข้อมูลไว้ด้วย เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือ เลขหน้า เพื่อที่
          จะกลับไปค้นหาหรือสืบค้นเรื่องราวนั้นได้อีก
                                                      ี
                         ี
                 นอกจากน้ การนาภาพอดีตจากหลายๆ แหล่งท่มาเรียบเรียง แยกแยะแจกแจง
                              �
          ข้นใหม่ ภายใต้บริบทเวลาในช่วงขณะน้น  ในรูปแบบต่างๆ เช่น ผนวกกับจินตนาการสะท้อน
           ึ
                                       ั
          สภาพสังคมเป็นวรรณกรรม  ผนวกกับเหตุการณ์จริงที่พบเห็นเป็นบทความหรือหนังสือ
          ภายใต้ช่อท่สละสลวยต่างๆ ก็นับว่าเป็นการเพ่มบันทึกพฤติกรรมของมนุษย์ เข้าไปสู่โลก
                                             ิ
                  ี
                ื
          ของการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ต่อไป
                 จะเห็นว่าประวัติศาสตร์ในแง่ของการเป็น “บันทึกเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์
          ในอดีต”  จะสร้างประโยชน์โดยตรงในการฝึกทักษะให้กับผู้เรียน ในแง่ของการคิดวิเคราะห  ์
                                                              ี
                                                               �
          รู้เท่าทันข้อมูล มีความรู้ความคิดกว้างขวางทันสมัย ทันคน เหตุการณ์ท่สาคัญ คือการพัฒนา
          ด้านสติปัญญา  เพราะพฤติกรรมและความคิดของมนุษย์นั้น  “ล�้าลึกเหลือก�าหนด” เต็ม
    92
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99