Page 97 - BookHISTORYFULL.indb
P. 97

สืบค้นเรื่องราวส�าคัญของสังคมมนุษย์ในอดีต  อันเป็นกระบวนการสร้างภูมิปัญญา  ที่จะ

                     สามารถพัฒนาผู้เรียนให้เป็นปัญญาชน  ก่อให้เกิดประโยชน์ ดังนี้
                            ๑. ส่งเสริมจิตใจใฝ่รู้  (Inquiring mind)  ในเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสังคมมนุษย์
                     ทั้งในระดับ ท้องถิ่น  ประเทศชาติ และสังคมมนุษยชาติอื่น
                                  ั
                                           ั
                            ๒. มทกษะในการจดระบบข้อมล ตรวจสอบและประเมนค่าข้อมลเพอหาข้อเทจ
                                ี
                                                    ู
                                                                                 ื
                                                                                        ็
                                                                                 ่
                                                                       ิ
                                                                             ู
                     จริงในประวัติศาสตร์
                            ๓. ปลูกฝังแนวคิดเชิงวิเคราะห์  (Critical Thinking)  วิพากษ์ วิจารณ์บนพื้นฐาน
                     ข้อเท็จจริง  ที่ได้จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์
                                                                          ี
                                                                                    ี
                            ๔. มีทักษะในการวินิจฉัย แยกแยะข้อเท็จจริงจากข้อสนเทศท่หลากหลายท่สืบค้น
                     ได้จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์
                                                                   �
                                                             ื
                            ๕. มีทักษะในการเขียนความเรียง  การเล่าเร่อง การนาเสนออย่างมีเหตุผล  กระชับ
                     ชัดเจน  น่าสนใจและน่าเชื่อถือได้
                             ี
                              �
                            ท่สาคัญ ประวัติศาสตร์ในยุคโลกาภิวัตน์ หรือโลกของข้อมูลข่าวสารท่รวดเร็ว
                                                                                   ี
                                                        ี
                            ิ
                                                                           �
                          ิ
                                                                    ี
                     และมีอทธพลขยายขอบเขตได้อย่างกว้างขวางน้  ประวัตศาสตร์มบทบาทสาคัญในการพัฒนา
                                                              ิ
                     ผู้เรียนให้เป็นผู้รู้จักใช้วิจารณญาณในการรับรู้ และประเมินความน่าเช่อถือของข้อมูล
                                                                             ื
                     ต่างๆ ในข้นตอนท่เรียกว่า “วิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์” ด้วยการประเมินจากตัวหลักฐาน
                                   ี
                             ั
                                   �
                                                                                   ี
                         �
                           ึ
                     ใครทาข้น ทาข้นทาไม ของจริงหรือของปลอม จากน้นจึงประเมินข้อเท็จจริงท่ปรากฏ
                                                               ั
                                 ึ
                               �
                                                                             �
                                                                 ึ
                                                             �
                                                                     ื
                                                       ื
                                                                                 ึ
                                 ั
                                       ั
                                                 ื
                     ในหลักฐานว่าขดแย้งกบหลักฐานอนๆ หรอไม่ ทาไมจงเหมอนกัน ทาไมจงแตกต่าง
                                                 ่
                                                                ี
                      ิ
                     ส่งเหล่าน้ ถือเป็นกระบวนการศึกษาข้อมูลท่จาเป็นเพ่อท่จะฝึกฝนผู้เรียนให้ยึดถือเหตุผล
                            ี
                                                        �
                                                       ี
                                                              ื
                                                                      ื
                     เป็นสาคัญ ผ่านการตรวจสอบประเมินและให้นาหนักความน่าเช่อถือของข้อมูลหลักฐาน
                         �
                                                          ้
                                                          �
                     รวมทั้งการขจัดอคติส่วนตัวและความเชื่อดั้งเดิมออกไป
                            อย่างไรก็ตามผู้สอนประวัติศาสตร์ควรเข้าใจด้วยว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
                     ประวัติศาสตร์ที่ดีจะก่อคุณค่าด้านเจตคติ และค่านิยมที่ดีให้แก่ผู้เรียน  ต่อท้องถิ่น  และ
                     ประเทศชาติ  ตอบสนองคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ในหลักสูตร คือ รักชาติ  ศาสน์ กษัตริย์
                     และรักความเป็นไทย ดังนี้
                            - สร้างความรู้สึกร่วมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทางสังคม
                            - ตระหนักในคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรมของท้องถิ่นและชาติ
                                                                   ี
                            - ยอมรับและเข้าใจความแตกต่างของมนุษยชาติท่เกิดจากปัจจัยทางภูมิศาสตร์
                     และสังคม
                            - อยู่ร่วมกับสังคมอื่นได้อย่างสันติสุข และมีจิตส�านึกต่อสังคมโดยรวม
                            - ใช้เหตุผลในการด�าเนินชีวิต
                                                                                            95
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102