Page 95 - BookHISTORYFULL.indb
P. 95

ไปด้วยความซับซ้อน ความขัดแย้ง ความรัก ความชัง  การพิทักษ์  การปกป้องในการที่จะ
                                              ั
                     เข้าใจสังคมมนุษย์จึงต้องอาศัยท้งสติปัญญาและความสามารถทุกรูปแบบ จึงจะรู้จักอดีต
                     ของสังคมมนุษย์ได้อย่างแท้จริง

                                                                   �
                            ๓. ประวัติศาสตร์ในฐานะ “วิธีการศึกษาเร่องราวสาคัญๆ ท่เช่อว่าเกิดข้นจริง”
                                                                          ี
                                                                                   ึ
                                                                            ื
                                                             ื
                     ถือว่าเป็นหัวใจของประวัติศาสตร์ในแง่ของการสร้างความรู้ใหม่ ท่ทุกคนสามารถทาได้และ
                                                                       ี
                                                                                   �
                            �
                                                                      ู้
                                                ่
                                                ื
                      ี
                                                                                    ้
                                                                                    ั
                              ั
                     มคุณค่าสาคญมากต่อมนุษยชาติ  เนองจากการสร้างสรรค์ความรในเชิงวิทยาการทงหลาย
                                                                 ี
                           ี
                                    ื
                     ในโลกน้เจริญสืบเน่องได้ตลอดมา ก็เพราะการศึกษาในแง่น้  ผู้สอนประวัติศาสตร์ต้องเข้าใจ
                     ก่อนว่า  การเรียนรู้อดีตของสังคมมนุษย์โดยผู้สอนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ไม่ว่าจะอธิบาย
                     หรือจากการให้นักเรียนอ่านตามความสนใจใคร่รู้ของนักเรียนเองเป็นการ “รับความรู้”
                          ่
                          ื
                                                  ู
                              ึ
                                                             ี
                                                          ั
                             ้
                                                         ี
                                                  ้
                                                         ้
                                                              ี
                                                                                ้
                                                                                ู
                                                                            ี
                                   ้
                                         ้
                     ทมผอนไดศกษาไวกอนแลว  แตความรในโลกน ยงมอกมากมายทยงไมมใครร  โดยเฉพาะ
                                    ่
                                             ่
                                                                           ่
                       ี
                                                                       ี
                         ้
                         ู
                      ี
                                                                        ั
                                                                       ่
                      ่
                                                ื
                                                                               ี
                        ื
                                                                             ื
                                                                   ี
                     ในเร่องพฤติกรรม ความคิด ความเช่อและค่านิยมของมนุษย์ท่มีอยู่ในทุกพ้นท่  เช่น ประวัต ิ
                     ของตัวเราและครอบครัว ความเป็นมาของตระกูล หมู่บ้านและชุมชนท่เราอาศัยอยู่
                                                                               ี
                     ศาสนสถาน ตลาด ประเพณี  ล้วนเป็นเร่องท่อยู่ใกล้ตัวเราเองและเป็นเร่องท่เราทุกคน
                                                                                 ี
                                                         ี
                                                                              ื
                                                      ื
                                                            ื
                                             ้
                                                  �
                                             ี
                     สามารถสืบค้นหาความรู้เหล่านแล้วนามาเสนอผู้อ่นรู้ได้  เรียกว่าการสร้างความรู้หรือ
                     การเติมความรู้ให้แก่โลก
                                                                             ี
                                                  ึ
                            วิธีการศึกษาเร่องราวท่เกิดข้นมาแล้วในสังคมมนุษย์ มีวิธีการท่ไม่ยากและเป็น
                                              ี
                                        ื
                     สิ่งที่ทุกคนสามารถท�าได้ในชีวิตประจ�าวันเป็นปกติอยู่แล้ว  เพียงแต่ในประวัติศาสตร์ได้จัด
                                                       ี
                                �
                                                                        ี
                     ระเบียบเรียงลาดับข้นตอนเพ่อให้เป็นระบบท่ชัดเจนข้น โดยเร่มต้นท่ความอยากรู้อยากเห็น
                                                             ึ
                                                                   ิ
                                           ื
                                    ั
                                                   �
                            ื
                                                                      ึ
                      ื
                                 ึ
                                                                                      ึ
                     เร่องใดเร่องหน่ง โดยท่ไม่สามารถหาคาตอบได้จากคนใดคนหน่งหรือหนังสือเล่มหน่งได้
                                       ี
                     เราจึงต้องสืบสวนค้นคว้าหาค�าตอบประเด็นที่อยากรู้ดังกล่าวด้วยตนเอง
                                                     �
                                                                ี
                            คาถามท่เกิดข้น คือ  เราจะหาคาตอบได้จากท่ไหน  มีหนังสือเล่มไหนเขียนไว้
                                       ึ
                             �
                                   ี
                     หรือไม่  มีผู้รู้อยู่ที่ไหน ให้เราสอบถามได้บ้าง  มีสถานที่ใดที่เราควรไปเพื่อหาค�าตอบนี้ได้
                     หรือไม่  บทบาทของผู้สร้างความรู้ใหม่คือการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้ครบถ้วน
                               ี
                                                   ี
                                                                                  ึ
                             ิ
                            ส่งท่เป็นร่องรอยให้เราสืบค้นน้ เรียกว่า  “หลักฐานทางประวัติศาสตร์”  ซ่งหมายถึง
                     ส่งท่จะบอกร่องรอยในอดีตได้  ไม่ว่าคน  ส่งของ สถานท่จะเป็นหลักฐานท่มนุษย์จงใจ
                                                                                ี
                      ิ
                                                                   ี
                        ี
                                                        ิ
                     สร้าง หรือไม่จงใจสร้างหรือหลักฐานท่มีลายลักษณ์อักษรหรือไม่มีลายลักษณ์อักษร
                                                    ี
                                                        ิ
                                                     ิ
                                                   ั
                     ล้วนเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้ท้งส้น ส่งท่เราได้จากหลักฐานเราเรียก “ข้อมูล”  หรือ
                                                          ี
                     “ข้อเท็จจริง” ซึ่งหมายถึงข้อมูลที่ได้อาจไม่ใช่ความจริงทั้งหมด ทั้งนี้ เนื่องจาก หลักฐาน
                                                                      ู
                                                                           ื
                                                                      ้
                                      ่
                     ทางประวตศาสตรไม่วาจะเกิดขนดวยเหตใดก็ตาม มนษย์จะเป็นผเสนอเรองราวในหลกฐาน
                                                                           ่
                                               ้
                                                             ุ
                            ั
                             ิ
                                            ึ
                                            ้
                                                    ุ
                                                                                     ั
                                   ์
                     เหล่าน้แทน  เช่น นักโบราณคดีจะเป็นผู้อธิบาย  โครงกระดูก  ส่งของท่ขุดคุ้ย  นักธรณีวิทยา
                                                                         ี
                                                                    ิ
                          ี
                                                                 ุ
                                  ั
                                                       ่
                              ิ
                           ้
                                                                                      ู
                                     ิ
                                       ่
                                       ี
                                  ้
                                                     ั
                       ิ
                     อธบายชนดน  ชนหนทพบร่องรอยการตงถนฐานของมนษย์ นกภาษาโบราณเป็นผ้อ่าน
                                                     ้
                                                                      ั
                                                       ิ
                           ั
                                                                                       ี
                     ศิลาจารึกท่ผู้คนโบราณจัดสร้างข้น อันท่จริงหลักฐานทางประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ท่ใช้
                              ี
                                                     ี
                                               ึ
                                                                                            93
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100