Page 91 - BookHISTORYFULL.indb
P. 91
ปฏิบัติในอนาคตต่อไป ซึ่งย่อมแน่นอน ประวัติศาสตร์ไม่ใช่เรื่องของคนใดคนหนึ่ง แต่เป็น
ั
่
ื
่
ื
ั
ั
ื
ั
ึ
�
ิ
ั
เรองของความเป็นชาต หรอสงคมโดยรวมจงจาเป็นต้องรวมพลงกนช่วยกนขบเคลอน
ึ
โดยใช้อดีตเป็นบทเรียน ความรู้ในแง่น้จะเกิดข้นหรือไม่ ย่อมท้าทายต่อผู้สอนประวัติศาสตร์
ี
ในระดับมืออาชีพ
๑.๔ ร้ความเป็นมาและวฒนธรรมของประเทศตนและประเทศอนๆ
ู
ั
ื
่
ิ
ิ
ึ
ี
วฒนธรรมไทยในนัยของประวติศาสตร์ย่อมรวมถงวิถคด วถปฏบัตซงสะท้อนออกมา
ี
่
ั
ิ
ั
ิ
ึ
่
ี
ู
ื
ู
ในรปแบบต่างๆ คงไม่ได้แสดงทรปร่าง หน้าตา การแต่งกาย การนับถอศาสนา อาหาร
การกิน ซึ่งแทบจะแยกแยะได้ยากกับความเป็นคนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือ
ชาวอาเซียนหรือผู้คนในภูมิภาคอ่นในยุคโลกาภิวัตน์ การเรียนรู้ความเป็นมาของวิถีคิดและ
ื
วิถีปฏิบัติหรือรากเหง้าของวัฒนธรรมไทยจะท�าให้เราสามารถแยกแยะ “ความเป็นคนไทย
วัฒนธรรมไทย วิถีไทย” ออกจากสังคมมนุษย์อ่นๆ ได้ เช่น ผู้เรียนน่าจะได้เรียนรู้และเข้าใจ
ื
ว่าดินแดนไทยตั้งอยู่ระหว่างอารยธรรมโบราณ ๒ แห่ง คือ อินเดีย และจีน ท�าให้ไทยตั้งอยู่
ึ
ี
ในเส้นทางค้าขาย ซ่งส่งผลให้ไทยอยู่ในกระแสวัฒนธรรมจากภายนอกท่หลากหลาย
ไม่เฉพาะอินเดียและจีนเท่าน้น แต่หมายรวมทุกชาติท่เดินทาง ค้าขายด้วย ผนวกกับ
ี
ั
ึ
ี
การท่ดินแดนไทย มีผู้คนต้งถ่นฐานมาช้านาน ซ่งย่อมมีวิถีการดาเนินชีวิตของตนเอง ปัจจัย
ั
�
ิ
ั
�
ท้งภายนอกและภายในเหล่าน้ ทาให้วัฒนธรรมไทยมีลักษณะผสมผสาน ซึ่งมาจากการรับ
ี
ั
ั
วัฒนธรรมจากชาวต่างชาติมาผสมผสานกับความเป็นท้องถ่น ดังน้น เราจึงมีท้งพราหมณ์
ิ
พุทธ ผี เทพารักษ์ ผสมสานในขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ทางด้านศิลปกรรมมีท้ง อินเดีย
ั
จีน เปอร์เซีย ตะวันตก ผสมผสานเป็นรูปแบบทางสถาปัตยกรรมและ ประติมากรรมท่เป็น
ี
�
เอกลักษณ์ของไทยเช่นกัน ท่สาคัญผู้สอนประวัติศาสตร์ต้องเช่อมโยงด้วยว่าสภาพ
ี
ื
ภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสาคัญ ทาให้เกิดวัฒนธรรม แต่ประวัติศาสตร์สร้างความเข้าใจว่า
�
�
ึ
�
กาลเทศะทาให้สังคมมนุษย์มีความแตกต่างเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ซ่งหมายถึงว่า ผู้ท ี ่
อาศัยอยู่ในพื้นที่ราบลุ่มที่ร้อนชื้นย่อมมีการปลูกข้าว มีความคิด ความเชื่อ และพิธีกรรม
ี
ี
เก่ยวกับข้าว เหมือนกัน แต่ในความเหมือนน้ ย่อมมีความแตกต่างเก่ยวกับวิถีคิด วิถีปฏิบัต ิ
ี
ซึ่งเราจะท�าความเข้าใจได้จากการเรียนรู้จากประวัติศาสตร์เท่านั้น
89