Page 70 - BookHISTORYFULL.indb
P. 70
วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย) รู้จักแหล่งวัฒนธรรม และภูมิปัญญา
ในชุมชน ศึกษาพระราชประวัติ และพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ ได้เรียนรู้
วีรกรรมบรรพบุรุษไทยท่มีส่วนปกป้อง และสร้างสรรค์ความเจริญให้ประเทศชาติ และ
ี
พัฒนาการของรัฐไทยในช่วงเวลาต่าง ๆ ในระดับมัธยมศึกษาจะได้วิเคราะห์ พัฒนาการของ
ั
อาณาจักรไทยในท้งด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศ รวมทั้งวิเคราะห์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย โดยก�าหนดเนื้อหาสาระในตัวชี้วัด
และสาระแกนกลางดังนี้
ชั้น ป.๑ เรียนรู้สัญลักษณ์ส�าคัญของชาติไทย แหล่งวัฒนธรรมในชุมชน และสิ่ง
ที่ตนภูมิใจในท้องถิ่น
ั
ช้น ป.๒ เรียนรู้บุคคลท่ทาประโยชน์ต่อท้องถ่น และประเทศชาติ รวมท้ง
ิ
�
ั
ี
วัฒนธรรมประเพณีที่ภาคภูมิใจ
ช้น ป.๓ เรยนร้พระราชกรณียกจของพระมหากษตรย์ไทย และวรกรรมของ
ิ
ั
ี
ิ
ี
ู
ั
บรรพบุรุษไทยที่มีส่วนปกป้องประเทศชาติ
ั
�
ช้น ป.๔ ศึกษาพัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย บุคคลสาคัญ และภูมิปัญญาสมัย
สุโขทัยโดยสังเขป
ึ
ั
ี
ุ
ุ
ั
ั
�
ช้น ป.๕ ศกษาพฒนาการของอาณาจกรอยธยา และธนบร บคคลสาคญ และ
ุ
ั
ภูมิปัญญาสมัยอยุธยา และธนบุรี โดยสังเขป
ช้น ป.๖ ศึกษาพัฒนาการของอาณาจักรรัตนโกสินทร์ บุคคลสาคัญ และภูมิปัญญา
�
ั
สมัยรัตนโกสินทร์ โดยสังเขป
ั
ช้น ม.๑ ศึกษาสมัยก่อนสุโขทัย และวิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย
บุคคลส�าคัญและภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย
ชั้น ม.๒ วิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา และธนบุรี บุคคลส�าคัญ และ
ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา และธนบุรี
�
ั
ช้น ม.๓ วิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรรัตนโกสินทร์ บุคคลสาคัญ และ
ภูมิปัญญาไทย รวมทั้งบทบาทของไทยในระบอบประชาธิปไตย
ชั้น ม.๔ – ม.๖ วิเคราะห์ประเด็นส�าคัญของประวัติศาสตร์ไทย สถาบันพระมหา
กษัตริย์ บุคคลส�าคัญ ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมไทย รวมทั้งแนวทางการอนุรักษ์
จะเห็นว่ามาตรฐานการเรียนรู้ ส ๔.๓ หลักสูตรได้ก�าหนดชัดเจนถึงเป้าหมายการ
เรียนรู้คือ การสร้างจิตส�านึกความเป็นไทย แต่อย่างไรก็ตามโครงสร้างหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สาระประวัติศาสตร์ ยังคงเป็นสาระวิชาหนึ่งใน
กลุ่มสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
68