Page 143 - 80 เล่ม ที่ครูภาษาไทยควรอ่าน
P. 143
๑๒๙
๐๐๐
ี
แม้ว่าข้อเขียนของหม่อมหลวงบุญเหลือ จะมีปริมาณเพยง
๑๐๐ หน้า มีเนื้อหาครอบคลุมไปกว้างกว่าชื่อ "หัวเลี้ยวของ
วรรณคดีไทย" แต่รวมข้อคิด และข้อมูลไว้หลายด้านหลายมุม ต่าง
่
คนอานก็จะเห็นต่างมุมต่างด้านกันไป โดยสังเกตได้จากงานเขียน
้
เกี่ยวกับวรรณคดี วิทยานิพนธ์ ที่อางถึงข้อเขียนนี้นั้น อาง
้
หลากหลายจุด ในต่าง ๆ หน้าต่าง ๆ ประเด็น และเจตนารมณ์ของ
หม่อมหลวงบุญเหลือในข้อเขียนนี้ ก็ท านองเดียวกับส่วนแรกของ
เจตนา นาควัชระ ต่างก็มุ่งเพอ "เกิดข้อคิดเห็นแย้งหรือสนับสนุน
ื่
หรือเพมเติม ประการใดประการหนึ่ง ข้อเขียนของ หม่อมหลวงบุญ
ิ่
เหลือนี้ได้เขียน "แนะน า" หนังสือดีไว้หลายเล่มในช่วงก่อนรัชากลที่
๕ จึงท าให้ผู้อานได้คุณค่าของงานเขียนของหม่อมหลวงบุญเหลือ
่
โดยตรงแล้ว ก็ยังได้หนังสือที่ "แนะน า" อกด้วย ส่วนตั้งแต่สมัย
ี
รัชกาลที่ ๕ มาถึงช่วงปี ๒๕๐๐ หม่อมหลวงบุญเหลือ ก็ชื่นชมอยู่
หลายเล่ม บางเล่มก็ตรงใจกันกับเล่มที่งานวิจัยโครงการนี้เลือก
ขึ้นมาหม่อมหลวงบุญเหลือก็แจกแจงอย่างเป็นบทเรียนให้นักเขียน
ึ
พงสังวร และให้ข้อคิดแก่ผู้อานถึงข้อที่พงต าหนิในนวนิยาย ส่วน
่
ึ
ข้อดี หม่อมหลวงบุญเหลือก็มิได้เสนอออกมาในรูป "สูตรส าเร็จ" แต่
อธิบายผูกโยงกับเรื่องเป็นเรื่องๆ ไป หรือถ้าจะใช้ส านวนให้มีสีสัน
ู
เคร่งขรึมทางวิชาการ ก็อาจจะพดได้ว่า หม่อมหลวงบุญเหลือนั้น