Page 161 - 80 เล่ม ที่ครูภาษาไทยควรอ่าน
P. 161

๑๔๗

                                                                        ๐
                               “เวียนว่ายวนวัฏเวิ้ง   วรรณคดี

                       สอดเสาะสิ่งสุนทรีย์         วากย์ไว้

                       เบิกบรรณบทกวี               กูแว่ว ยินเฮย

                       หวังกุลบุตรไล้ลิ้ม          ลูบใจ”

                       จึงเป็นที่แน่แท้ว่าหนังสือเล่มนี้ได้บรรยายใจความเนื้อหา

               ของผู้ที่ศึกษาความเป็นวรรณคดี ไว้ในตอนหนึ่งของหนังสือเล่มนี้ว่า

               ศิลปะการประพนธ์ คือส่วนที่ท าให้เกิดการเคลื่อนไหวหรือการ
                              ั
               สะเทือนอารมณ์ เป็นตัวพลังที่ให้รูปแบบและเนื้อหาปรากฏเด่นชัด

               ออกมาหากเทียบกับคน ศิลปะการประพนธ์ ก็คือ จิต นั่นเอง กาย
                                                 ั
               กับจิตเป็นของคู่กันฉันใด รูปแบบกับศิลปะการประพนธ์ก็คู่กันฉัน
                                                            ั
               นั้น และต้องเข้าใจว่าจิตจะอยู่โดยไม่มีกายไม่ได้ แต่กายอาจอยู่ได้

               โดยไม่มีจิต เช่น ซากศพ เป็นต้น วรรณกรรมประเภทต าราหรือ

               ข้อเขียนอธิบาย มีรูปแบบปรากฏชัดเจนได้โดยไม่ต้องค านึงถึง

                             ั
               ศิลปะการประพนธ์แต่ประการใด แต่วรรณกรรมใดได้รับยกย่อง
               เป็นวรรณคดี วรรณกรรมนั้นจะต้องมีศิลปะการประพนธ์เป็นเยี่ยม
                                                            ั
               อยู่ด้วยเสมอ

                       หนังสือเล่มนี้มีเน้อหาใจความส าคัญออกเป็น ๔ ข้อใหญ่

               คือ หนึ่งรูปแบบ โดยแบ่งเป็นรูปแบบการด าเนินเรื่อง และรูปแบบ
   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166